Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Neonatal Withdrawal Syndrome, น.ส.พิมพ์พิชชา ชูสาย 3A เลขที่ 52…
Neonatal Withdrawal Syndrome
อาการแสดง
อาการขาดยา
ระยะแรกจะมีอาการ กระวนกระวาย กระสับกระส่ายคลื่นไส้ เหงื่อออก ง่วงเหงาหาวนอน น้ำมูกน้ำตาไหล แสบปวดท้อง
ระยะที่2 กระวนกระวายมากขึ้น ตัวสั่น อาเจียน ท้องเสีย กล้ามเนื้อหดเกร็ง มีใข้หนาวสั่น ความโลหิตสูง หัวใจเต้นเร็ว ความรุนแรงของอาการขึ้นอยู่กับ ปริมาณยา ระยะเวลาความถี่ของการใช้ยา ระยะเวลาหลังจากได้รับยาครั้งสุดท้าย
อาการถอนยาในทารกแรกเกิด
1.อาการทางระบบประสาท แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ
-ระบบประสาทถูกกด (CNS depreesion) ทารกจะมีอาการหาวจาม Mono reflex ลดลงหิวแต่ดูดไม่เป็น
-ระบบประสาทถูกกระตุ้น (CNS instabiliry) ทารกจะมีอาการแขนชาสั่นเทิ้มหรือสั่นทั้งตัว ขยับตัวไปมา นอนหลับไม่สนิท พื้นมาก กระสับกระส่ายมากกว่าปกติ แม้จะอุ้มหรือปลอบที่ไม่หยุดร้องเสียงแหลม และร้องกวนผิดปกติ การกระตุกไวกว่าปกติ ในรายที่เป็นมากจะชัก หมดสติ และตายได้
2 อาการทางระบบทางเดินอาหาร เป็นอาการที่เกิดตามมา เช่น อาเจียน เป็นไข้ กินน้ำและนมได้น้อย ถ่ายเป็นน้ำ และถ่ายบ่อย ทำให้มีอาการขาดน้ำ และขาดสารอาหาร
ความหมาย
กลุ่มอาการขาดยา(withdawal) ที่พบในทารกเนื่องจากได้รับสารออกฤทธิ์ต่อจิตประสาทตั้งแต่อยู่ในครรภ์
วินิจฉัย
การชักประวัติการใช้สารเสพติดของมารดาและ
สังเกตลักษณะบุกคลิกของมารดา
ตรวจหาสารเสพติดจากเลือดและปัสสาวะของมารดา
Neonatal abstinence scoring system (NAS scores)
เป็นการประเมินอาการทางระบบประสาท ส่วนกลางและอัตโนมัติ อาการทางระบบทางเดินอาหาร และ อาการทางระบบทางเดินหายใจในทารกแรกเกิดที่เกิดจากมารดาที่เสพสารเสพติด ขณะตั้งครรภ์โดยเริ่มประเมินที่2ชั่วโมงแรก หลังเกิดและประเมินช้ำทุก4ชั่วโมง เป็นเวลาอย่างน้อย 4 วัน คะแนนที่ได้จากแบบประเมินภาวะอาการถอนยาที่มากขึ้น บ่งบอกถึงอาการถอนยาที่รุนแรงเพิ่มขึ้น
APGAR score
การประเมินสภาพทารก แรกเกิด โดยการให้คะแนน APGAR ด้วยการสังเกตสีผิว ชีพจร หรืออัตราการเต้นของหัวใจ ปฏิกิริยาการตอบสนอง ต่อสิ่งกระตุ้นการเคลื่อนไหวต่าง ๆ หรือความตึงตัวของ กล้ามเนื้อ และการหายใจของทารก โดยทำในนาทีแรก ของการเกิดและทำซ้ำอีกในนาทีที่ 5 เมื่อแรกเกิด
ผลกระทบต่อสารเสพติดต่อทารกในการตั้งครรภ์
ทารกเจริญเติบโตช้า
ทารกเสียชีวิตในครรภ์
ทารกติดเชื้อในครรภ์ หรือติดเชื้อตั้งแต่กำเนิด (congenital infection)
ทารกพิการแต่กำเนิด (congenital anomaly)
น้ำหนักแรกคลอดต่ำ (low birth weight)
ทารกแรกคลอดมีอาการของการขาดยา (neonatal abstinence syndrome, NAS)
โอกาสเกิด sudden infant death syndrome (SIDS) สูง
ประเภทของสารเสพติด
เฮโรอีน
ทารกในครรภ์ขาดสารอาหารจึงมีการเจริญเติบโตล่าช้าทุกด้าน (retarded
of growth in utero) กลายเป็นทารกที่มีน้ำหนักตัวน้อย
ทารกในครรภ์ติดยาเฮโรอีนจากมารดาเมื่อ
ทารกแรกเกิดจึงมีอาการถอนยา (withdrawal symptom)
สุรา
fetal alcohol syndrome (FAS)
ความผิดปกติบริเวณใบหน้า เช่น ตาเล็ก ดั้งจมูกแบน จมูกสั้น ริมปากบนบาง หูต่ำ หรือระดับหูไม่เท่ากัน
ความผิดปกติของระบบประสาทส่วนกลาง ได้แก่ หัวเล็ก ปัญญาอ่อน
neurobchavioral devclopment นิดปกติ เช่น hyperactivity
การเจริญเติบโตช้า ก่อนคลอดหรือหลังคลอด
บุหรี่
Carbon monoxide (CO)
ทำให้ทารกในครรภ์ได้รับออกซิเจนน้อย เจริญเติบโตช้า มีน้ำหนักน้อย ปัญญาอ่อนด้วยในภายหลัง
Nicotine
ทารกได้รับสารอาหารและออกซิเจนน้อย หัวใจเต้นผิดปกติ
Cyanide
ขัดขวางการจริญเติบโตของสมอง
ยาที่เป็นอันตราย
Minor malformation
ทำให้เกิดความพิการเล็กน้อย แต่ไม่ถึงกับให้ทารกเสียชีวิตได้แก่ ear tags นิ้วเกิน
Major malformation
เกิดความพิการที่ทำให้ทารกไม่รอด ได้แก่ anencephaly
เกิดความผิดปกติของร่างกายแต่สามารถผ่าตัดแก้ไขเพื่อให้มีชีวิตรอดได้ เช่น เพดานโหว่ หัวใจพิการแต่กำเนิด ภาวะไส้เลื่อน
การรักษา
ฟีโนบาร์บิทอล
-ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ 5-10 มิลลิกรัม/กิโลกรัม/วัน อาจให้ถึง 15 มิลลิกรัม/กิโลกรัม/วัน
-รายที่มีอาการมากให้ติดต่อกัน 5-10 วัน แล้วค่อยๆ ลดขนาดยาลง 1 ใน 3 ทุกสองวันหยุดยาใน 1-3 สัปดาห์ ยานี้ให้ผลดีสำหรับระงับอาการทางระบบประสาท
Tincture opium
-ให้ทางปากในรูปของ 5% ทิงเจอร์ฝิ่น 2-4 หยด ทุก 3-4 ชั่วโมง ถ้าอาการยังไม่
สงบอาจเพิ่มให้อีก 1-2 หยด ทุก 3-4 ชั่วโมง ให้ติดต่อกัน 2-3 สัปดาห์
-เริ่มลดยาลงภายหลัง 1 สัปดาห์ ถ้าอาการดีขึ้น จะหยุดยาใน 2-3 สัปดาห์ หรืออาจให้ต่อไปจนถึง 1-1 1/2 เดือนในรายที่จำเป็น
-ให้ผลสำหรับบรรเทาอาการทางระบบทางเดินอาหาร ทำให้ลดการเคลื่อนไหว ลดอาการท้องเดินและอาเจียน
Chlorpromazinc
-ให้รับประทานหรือฉีดเข้ากล้ามเนื้อ ขนาด 2-3 มิลลิกรัม/กิโลกรัม วัน แบ่งให้ทุก 6-8 ชั่วโมง เป็นเวลา 5-10 วัน จนอาการดีขึ้น แล้วลดขนาดยาลงจนหยุดใด้ใน 2-3สัปดาห์
-ช่วยลดอาการถอนยา
Diacepam
-ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ ขนาด 1-2 มิลลิกรัม ทุก 6-8 ชั่วโมง
-หลังจากอาการทางระบบประสาทสงบลงแล้ว ลดขนาดยาลงครึ่งหนึ่งและให้ทุก 12 ชั่วโมง จนหยุดยาได้ใน 1 สัปดาห์ยานี้มีประสิทธิภาพดี ในการระงับอาการทางระบบประสาท แต่ไม่มีผลต่อระบบทางเดินอาหาร
การรักษาแบบประดับประคอง
เนื่องจากทารกมักจะมีปัญหาเกี่ยวกับการดูดกลืน เสียน้ำทางอุจจาระและอาเจียน ทำให้เกิดอาการขาดอาหารและเสียสมดุลของน้ำและสารละลายด้วย การรักษาจะพิจารณาให้อาหารที่มีแคลอรี่พอหมาะกับน้ำหนักตัว ตลอดจนให้สารละลายให้เพียงพอเพื่อรักษาสมดุลในร่างกาย ซึ่งอาจพิจารณาให้ทางหลอดเลือดดำในรายที่ใด้ทางระบบทางเดินอาหารไม่พอ
การพยาบาลแบบองค์รวม
ในกรณีที่ได้รับการส่งเวรจากท้องคลอดว่ามารดาติดยาเสพติด หรือสงสัยติดยาเสพติด ควรรายงานแพทย์ทราบทันที เพื่อพิจารณาให้ยารักษาก่อนที่มารดาและทารกจะมีอาการถอนยาเนื่องจากขาดยา
2.ให้มารดาและทารกได้รับการตรวจลือดและปัสสาวะเพื่อวิเคราะห์หายาเสพติดประกอบการวินิจฉัยที่แน่นอน
สังเกตอาการเปลี่ยนแปลงของทารกอย่างใกลัชิด ส่วนใหญ่มักมีอาการถอนยาเกิดขึ้นภายใน 24-28 ชั่วโมง หลังคลอด และพบพร้อมกันทั้งมารดาและทารก ข้อสังเกตที่บ่งชี้ว่าทารกน่าจะมีอาการถอนยา ได้แก่ เสียงร้องแหลมสั่น นอนไม่หลับ ดูดกำปั่นตนเองอย่างรุนแรง แต่ดูดนมลำบาก หาวและจามเหมือนคัดจมูก หัวใจเต้นเร็ว หายใจเร็ว มี mono reflex มากกว่าปกติ ตัวเกร็งสั่น มีใช้หรือชัก เป็นต้น ควรบันทึกอาการของทารกอย่างละเอียดและรายงานเพื่อการดูแลรักษาที่เหมาะสมต่อไป
4.ประเมินผลการได้รับออกซิเจนจากการตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณชีพและสีผิว บันทึกลักษณะของการชัก ช่วงเวลาและระยะที่ชักตลอดจนสภาพของทารกภายหลังชัก
5.ประเมินผลการให้อาหารและแคลอรี่ที่ทารกได้รับในแต่ละช่วงเวลา และชั่งน้ำหนักทุกวัน บันทึกรายงานและส่งเวรเพื่อให้ทารกได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่อง โดยประเมินจากปริมาณแคลอรี่ที่ทารกได้รับใน 1 วัน เป็นไปตามเกณฑ์ที่ทารกควรจะได้ ทารกไม่มีอาการขาดน้ำและน้ำหนักเพิ่มขึ้นสม่ำเสมอ
6.ประเมินระดับความรุนแรงของการเสียสารน้ำ จากการบันทึกปริมาณอุจจาระและอาเจียนอย่างละเอียด การเปลี่ยนแปลงของสัญญาณชีพและอาการแสดงอื่นๆ ของภาวะขาดสารน้ำทั่วไปและคำนวณปริมาณสารน้ำที่จะให้ชดเชยตามลำดับความรุนแรงของการเสียสารน้ำ กำหนดวิธีการและช่วงเวลาที่จะให้ตามความเหมาะสมกับสภาพของทารก
7.ทารกที่ได้รับยารักษาอาการต่างๆ จะสงบลง ควรบันทีกรายงานอาการเปลี่ยนแปลงของทารกอย่างละเอียด เช่น ช่วงเวลาที่นอนหลับ ลักษณะเสียงร้อง รีเฟลกซ์ อาการสั่น และเกร็ง เป็นต้น
8.จัดสิ่งแวดล้อมให้เงียบสงบ และไม่มีแสงสว่างจ้ามากเกินไป
น.ส.พิมพ์พิชชา ชูสาย 3A เลขที่ 52 รหัสนักศึกษา 62123301100