Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 แนวทางการดำเนินงานอาชีวอนามัย - Coggle Diagram
บทที่ 5 แนวทางการดำเนินงานอาชีวอนามัย
ความหมาย และความสำคัญของงานอาชีวอนามัย
การบริการอาชีวอนามัย คือ งานอาชีวอนามัยที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมและการ ธ ารงรักษาไว้ซึ่งสุขภาพอนามัยที่แข็งแรง สมบูรณ์ ปลอดภัย
แนวคิดการบริการอาชีวอนามัยประกอบด้วย
การสร้างเสริมและส่งเสริมสุขภาพในสถานที่ทำงาน เช่น การดูแลด้าน โภชนาการ การออกกำลังกาย สุขศาสตร์ส่วนบุคคล
การค้นหาอันตราย และความเสี่ยงต่อสุขภาพจากการท างาน
การตรวจวัดสภาพแวดล้อม และบรรยากาศในการท างาน
การจัดการความเสี่ยง โดยการจัดลำดับความสำคัญและการแก้ไข
การเฝูาระวังโรคและการตรวจร่างกายทางการแพทย์ทั่วไปและตามความเสี่ยง
การจัดบริการห้องพยาบาลและจัดบริการ การตรวจรักษาโรคทั่วไป และโรคที่เกิดจากการทำงาน
การจัดเก็บรวบรวมสถิติ ข้อมูล สุขภาพของผู้ปฏิบัติงาน หรือประโยชน์ต่อการเฝ้าระวังโรค
ขอบเขตของงานอาชีวอนามัย
การปูองกัน เป็นกระบวนการที่มีจุดหมายให้จัดการปูองกัน แก้ไข สภาพการท างาน ลักษณะงาน และสิ่งแวดล้อมในงาน
การคุ้มครองคนงาน งานที่จัดขึ้นต้องมีระบบปกปูองคุ้มครองมิให้ได้รับการเสี่ยงอันตรายทั้งระบบสั้นและระบบยาว
การส่งเสริมและธ ารงรักษาไว้ ซึ่งสุขภาพดีของคนงานทุกอาชีพทั้งร่างกายและจิตใจที่แข็งแรงสมบูรณ์ และความเป็นอยู่ที่ดีในสังคม
จัดคนงานให้ได้ท างานในลักษณะงาน สิ่งแวดล้อมการท างานที่เหมาะสม
ลักษณะงานอาชีวอนามัย
มีการจัดปรับงานให้เข้ากับคนและจัดปรับคนให้เข้ากับงาน
หลักการป้องกันและควบคุมโรคที่เกิดจากการประกอบอาชีพ
การควบคุมและปูองกันที่สิ่งแวดล้อม ด้วยการตระหนักถึงความปลอดภัยเป็นอันดับแรกด้วยวิธีการจัดระเบียบสถานที่ท างาน
การควบคุมปูองกันด้านตัวบุคคล เพื่อส่งเสริมศักยภาพของแต่ละบุคคลและเพื่อความปลอดภัยในการท างานสูงสุด
การบริหารจัดการ สถานประกอบการควรได้มีการบริหารจัดการเกี่ยวกับการควบคุมปูองกันโรค หรืออันตรายจากการประกอบอาชีพ เพื่อลดโอกาสเสี่ยงต่อการเจ็บปุวยเป็นโรคจากการ ท างาน
3.1 แบ่งการทำงานเป็นะก
3.2 แยกแยะส่วนการท างานของคนงานกับส่วนพื้นที่อันตราย
3.3 การพยายามหาสารที่มีคุณสมบัติใกล้เคียงหรือเป็นอันตรายน้อยกว่า
3.4 การเลือกใช้กระบวนการทำงานในขั้นตอนการผลิตที่เป็นอันตรายน้อยกว่า
3.5 ใช้วิธีปิดคลุมกระบวนการที่มีพิษหรืออันตราย
แนวทางการดำเนินงานอาชีวอนามัย
ตรวจพิเศษด้านอาชีวเวชศาสตร์
การบันทึกระเบียนรายงาน
ฟื้นฟูสภาพ
แนวทางปฏิบัติงานบริการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในโรงพยาบาล
การเฝ้าระวังสิ่งคุกคาม (Hazard surveillance)
การเฝ้าระวังทางสุขภาพ (Health surveillance)
การรักษาพยาบาลและการส่งต่อ
การป้องกันโรคและส่งเสริมสุขภาพ
บทบาทและหน้าที่ของพยาบาลในงานอาชีวอนามัย
ด้านการศึกษา
3.1 มีส่วนในการสร้างและพัฒนาหลักสูตร และด าเนินการฝึกอบรมส าหรับการพยาบาล อาชีวอนามัยในระดับต่างๆ
3.2 ใช้ผลการวิจัยมาพัฒนาการจัดการศึกษาส าหรับพยาบาลและน ากระบวนการศึกษามาปรับปรุงงานวิจัย-การปฏิบัติ
3.3 ประสานงานและสนับสนุนการพยาบาลอีวอนามัยมาสู่การปฏิบัติพยาบาลโดยทั่วไป
ด้านการวิจัย
4.1 มีส่วนร่วมและด าเนินการวิจัยในงานอาชีวอนามัยเพื่อปรับปรุงคุณภาพการปฏิบัติงาน
4.2 เผยแพร่ผลงานด้านการพยาบาลอาชีวอนามัย ซึ่งเป็นข้อค้นพบจากการปฏิบัติงานโดยการน าเสนอในการประชุมของวิชาชีพ
การบริการในคลินิก
2.1 การบริหารจัดการผู้เจ็บปุวยรายกรณี เป็นการดูแลรักษา ช่วยเหลือ
2.2 การให้ค าปรึกษาและการจัดการดูแลในภาวะวิกฤติ
2.3 การสร้างเสริมสุขภาพและลดความเสี่ยง
2.4 การปฏิบัติตามข้อก าหนดกฎหมาย
ด้านบริหาร
1.1 ร่วมวางแผนให้บริการสุขภาพและความปลอดภัยแก่พนักงานและลูกจ้าง
1.2 ร่วมก าหนดนโยบายสุขภาพและความปลอดภัยของหน่วยงาน
1.3 บริหารจัดการงบประมาณ เครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์ ใช้ในการดูแลสุขภาพ รวมทั้งจดบันทึกรายงานต่างๆ
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับงานอาชีวอนามัย
พยาบาลอาชีวอนามัยเป็นผู้ให้บริการสุขภาพและความปลอดภัยของผู้ใช้แรงงานตามนโยบายแผนงานขององค์กร
ลักษณะงานที่ท ามีกฎหมายนโยบายและแผนงานระดับประเทศได้รองรับอยู่
พยาบาลผู้ปฏิบัติงานจ าเป็นต้องมีความรู้และความเข้าใจบทบาทหน้าที่
ปัจจุบันประเทศไทยมีกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเรื่องความปลอดภัยและอาชีวอนามัยอยู่หลายฉบับ