Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Breast Cancer - Coggle Diagram
Breast Cancer
Breast Cancer
ความหมาย
มะเร็งเต้านมเกิดจากเซลล์ เยื่อบุท่อน้ำนมส่วนปลาย (Terminal Duct Lobular Unit) มีการแบ่งตัว
เพิ่มจำนวนแบบผิดปกติขึ้นจนโตเป็นก้อน และ
มีการลุกลามแพร่กระจายไปสู่อวัยวะต่างๆทั่วร่างกาย
กายวิภาค
เต้านมปกติอยู่เป็นคู่ รูปร่างของเต้านมแต่ละคนขึ้นกับลักษณะรูปร่างของร่างกาย โดยทั่วไปมีลักษณะคล้ายกรวยที่มีเนื้อเยื่อเด้านมยื่นออกมาทางรักแร้ โครงสร้างของเต้านมประกอบด้วยโครงสร้างหลัก ได้แก่ ผิวหนัง เนื้อเยื่อใต้ผิวหนัง และก้อนเต้านม (corpus mamma)
ก้อนเต้านมประกอบด้วยต่อมน้ำนม (alveoli) ที่มีหน่วยสร้างน้ำนม (secretory acinar units) และเซลล์ที่สร้างน้ำนมอยู่รวมกันเป็นกระจุกล้อมรอบด้วยเซลล์ myoepitheial ซึ่งช่วยในการฉีกนมจากต่อม
ปัจจัยเสี่ยง
- ปัจจัยที่ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้
1.1อายุ พบว่าอายุที่เพิ่มมากขึ้น ในแต่ละช่วงมีความเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งเต้านมที่ไม่เท่ากัน โดยพบว่าในผู้หญิงที่มีอายุระหว่าง 30-40 ปี จะมีความเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งเต้านมร้อยละ 0.04 และความเสี่ยงนี้จะเพิ่มตามอายุที่เพิ่มขึ้น
-
-
1.4 ปัจจัยทางด้านพันธุกรรม (genetic factor) หญิงที่มีความผิดปกติทางพันธุกรรม
ในครอบครัว เช่น hereditary breast and ovarian syndrome
1.5 การมีก้อนเนื้อที่ไม่ร้ายแรงที่เต้านม ผู้ที่เคยมีชีสส์ (cystic disease) จะมีอุบัติการณ์เกิดโรคเป็น 2 เท่าของผู้หญิงทั่วไป
- ปัจจัยที่สามารถเปลี่ยนแปลงได้
1 การใช้ฮอร์โมนทดแทน (hormonal replacement therapy: HRT) การได้รับ
ฮอร์โมนในระยะแรกๆ เช่น การใช้ยาฉีดหรือยาฝังคุมกำเนิด ทำให้เพิ่มความเสี่ยงต่อมะเร็งเต้านม
2 ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม และการดำเนินชีวิต (environment and lifestyle factor) พฤติกรรมการรับประทานอาหารที่เปลี่ยนแปลงไป เช่นการรับประทานอาหารปิ้ง ย่าง สามารถทำให้เกิดมะเร็งเต้านมได้
พยาธิ
มะเร็งเต้านม (clonal disease)
เกิดจากการเปลี่ยนแปลงเพียงเซลล์เดียวส่งผลให้เกิดการกลายพันธุ์(mutation)ของ somatic cell
หรือgermlineได้ มะเร็งเต้านมประมาณร้อยละ 5-10 ที่เป็นชนิดที่มีความบกพร่อง จึงจัดให้เป็นมะเร็งชนิดถ่ายทอดทางพันธุ์กรรม (hereditary cancer) เช่น มีการถ่ายทอดของยีน breast cancer susceptibility gene1 (BRCA1)และยีน breast cancer susceptibility gene 2 (BRCA2)
-
-
-
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
การพยาบาลเตรียมตัวก่อนผ่าตัด
-
-
4.ก่อนผ่าตัดให้ผู้ป่วย ถอดของมีค่าต่าง ๆ เครื่องประดับทุกชนิด เช่น แหวน สร้อยคอ สร้อยข้อมือ ต่างหู แว่นตา นาฬิกา คอนแทคเลนส์ และฟันปลอม (ชนิดถอดออกได้) เพื่อป้องกันการหลุดของฟันปลอมเข้าไปอุดหลอดลมขณะผ่าตัดโดยเก็บไว้ที่ญาติผู้ป่วย
-
-
9.เปิดเส้นเพื่อเก็บ CBC, BUN ,Cr, FBS ,Electrolyte ,anti HIV
-
1.สร้างสัมพันธภาพทีดีกับผู้ป่วย ประเมินอารมณ์การเผชิญปัญหาและวิธีการแก้ไขปัญหาของผู้ป่วยการให้กําลังใจ สนใจตอบคําถามแก่ผู้ป่วยอย่างจริงใจไม่ทอดทิ้งผู้ป่วย พยาบาลควรส่งผู้ป่วยปรึกษาผู้เชียวชาญหรือแพทย์ผู้รักษา เพื่อให้ผู้ป่วยเกิดความมันใจต่อการรักษา
นอกจากนั้นพยาบาลมีหน้าที่ส่งเสริมความสามารถในการปรับตัว การเผชิญกับโรคของผู้ป่วยและการตัดสินใจรักษา ให้ความรู้แก่ผู้ป่วยเกียวกับโรค
-
การพยาบาลหลังได้รับยาเคมีบำบัด
- บันทึกสัญญาณชีพของผู้ป่วย
- จัดให้อยู่ในท่านอนราบบนเตียงห้ามงอขาข้างที่แพทย์แทงเข็มอย่างน้อย 8 ชั่วโมง
- สังเกตบริเวณที่แพทย์แทงเข็มทุก 15 นาทีถ้าพบว่ามีเลือดซึมที่ผ้าปิดแผลหรือมีก้อนฟกช้ำ ควรใช้มือกดบริเวณที่มีเลือดออกให้แน่นต้องรีบรายงานให้แพทย์ทราบ
- สังเกตว่ามีอาการปวดหลัง ท้องน้อง ชายโครงหรือ ขาหนีบ เนื่องจากอาจมีเลือดออกภายในเยื่อบุช่องท้องได้
- ตรวจจับชีพจรบริเวณอวัยวะที่ต่ำกว่าที่แทงเข็ม
- แนะนำและกระตุ้นให้ผู้ป่วยดื่มน้ำมาก ๆ
-
- หลีกเสี่ยงการสัมผัสหรือใกล้ชิดบุคคลที่ติดเชื้อ
- ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยาแก้ปวดลดไข้เมื่อมีอาการปวดหรือมีไข้
- สอนและแนะนำผู้ปวยให้ทราบถึงวิธีการปฏิบัติตัวขณะที่อยู่
-
3.ผู้ป่วยมีความวิตกกังวล เนื่องจาก
สูญเสียภาพลักษณ์
-
-
กิจกรรมพยาบาล
- ประเมินการรับรู้ของผู้ป่วยต่อการเปลี่ยนแปลงภาพลักษณ์ ความสามารถ บทบาท และแบบแผนชีวิต
- ร่วมปรึกษากับผู้ป่วยในการปรับปรุงภาพลักษณ์และอื่นๆให้ดีขึ้น เน้นความเป็นไปได้ตามสภาพความเป็นจริง
- ให้การพยาบาลเพื่อส่งเสริมการปรับตัวของผู้ป่วยต่อการเปลี่ยนแปลงภาพลักษณ์และอื่นๆดังนี้ ผมร่วง อธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจว่า ผมร่วงจะเกิดขึ้นประมาณ 2 อาทิตย์หลังการให้เคมีบำบัดครั้งแรกโดยจะงอกขึ้นใหม่เมื่อการให้เคมีบำบัดสิ้นสุดลงประมาณ 2-3 เดือน ผิวหนังและหลอดเลือดดำมีสีเข้มขึ้นอธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจว่าผิวหนังและหลอดเลือดจะมีสีเข้มขึ้น
- การเปลี่ยนแปลงของเล็บ อธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจว่าระหว่างให้ยาเคมีบำบัดเล็บจะหนาขึ้นไม่งอก จมูกเล็บชัดเจน และสีเข้มขึ้น อาการที่เกิดขึ้นนี้จะเป็นชั่วคราวเท่านั้น
- ให้กำลังใจและคำชม เมื่อผู้ป่วยมีพฤติกรรมการปรับตัวที่ดี เช่น สนใจตนเอง มีสัมพันธภาพที่ดี กับ
บุคคลในครอบครัว เป็นต้น
- ให้เวลาและโอกาสในการระบายความรู้สึกต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงภาพลักษณ์และอื่นๆ
เกณฑ์การประเมิน
-
2.ผู้ป่วยสนใจในการดูแลตนเองมีการปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น และวางแผนดูแลตนเองให้เหมาะสมกับโรคและ
ผลของยาเคมีบำบัด
-
-
ข้อมูลผู้ป่วย
-
-
-
-
-
สรูปภาวะผู้ป่วยก่อนรับไว้ดูแล
-
ผู้ป่วยมาที่ OPD โรงพยาบาลเอกชนแห่งหนึ่งด้วยอาการเต้านมไม่เท่ากัน คลำพบว่าเต้านมซ้ายมีก้อนแข็ง กดไม่เจ็บ เมื่อได้รับการตรวจร่างกายพบก้อนมีความผิดปกติ
-
ผลการตรวโดยการอุลตราซาวน์และการตรวจชิ้นเนื้อพบว่า Mymammography with ultrasound พบว่ามี upper -outer left breast appears at USG as facal parenchyma defect from
recent surgical excision of the malignant.Imp: BIRADS IV - LUOQ malignant. Following recent surgical excision.
การรักษา (Treatment)
-
- รังสีรักษา (Radiotherapy)
-
-
-
-
-
-