Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 แนวทางการดำเนินงานอาชีวอนามัย - Coggle Diagram
บทที่ 5 แนวทางการดำเนินงานอาชีวอนามัย
ความหมาย และความสำคัญของงานอาชีวอนามัย
อาชีวอนามัย “Occupational Health”
(Occupation) หมายถึง การเลี้ยงชีพ การประกอบอาชีพ หรือคนที่ประกอบอาชีพทุกสาขาอาชีพ อนามัย
(Health) หมายถึง สุขภาพอนามัย ความไม่มีโรค หรือสภาวะความ สมบูรณ์ทั้งร่างกายและจิตใจของผู้ประกอบอาชีพ
คือ การส่งเสริมสุขภาพ ควบคุมดูแล การป้องกันโรค และดำรงรักษาสุขภาพอนามัย ทั้งด้านร่างกายและจิตใจและการมีความเป็นอยู่ที่มีอยู่ในสังคมของผู้ประกอบอาชีพทุกอาชีพ
ความสำคัญของงานอาชีวอนามัย
การบริการอาชีวอนามัย คือ งานอาชีวอนามัยที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมและการธำรงรักษาไว้ซึ่งสุขภาพอนามัยที่แข็งแรง สมบูรณ์ ปลอดภัย ของผู้ประกอบอาชีพ ไม่มี โรคภัยไข้เจ็บ รวมทั้งอุบัติเหตุ หรือ ความเสี่ยงในการเกิดอันตรายจากการปฏิบัติงาน ซึ่งต้องทำงานประมาณวันละ 8 ชั่วโมง
แนวคิดการบริการอาชีวอนามัยประกอบด้วย
การสร้างเสริมและส่งเสริมสุขภาพในสถานที่ทำงาน เช่น การดูแลด้าน โภชนาการ การออกกำลังกาย สุขศาสตร์ส่วนบุคคล
การค้นหาอันตราย และความเสี่ยงต่อสุขภาพจากการทำงาน
การตรวจวัดสภาพแวดล้อม และบรรยากาศในการทำงาน
การจัดการความเสี่ยง โดยการจัดลำดับความสำคัญและการแก้ไข
การเฝ้าระวังโรคและการตรวจร่างกายทางการแพทย์ทั่วไปและตามความเสี่ยง
การจัดบริการห้องพยาบาลและจัดบริการ การตรวจรักษาโรคทั่วไป และโรคที่เกิดจากการทำงาน
การจัดเก็บรวบรวมสถิติข้อมูล สุขภาพของผู้ปฏิบัติงาน
ขอบเขตของการดำเนินการอาชีวอนามัย
การป้องกันและควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพ (Prevention and Control of Occupational Disease)
การควบคุมป้องกันโรค อันเนื่องมาจากการทำงานที่มีสาเหตุ มาจากสภาพแวดล้อมในการทำงานที่ผิดปกติ
การป้องกันแบบปฐมภูมิ (Primary Prevention)
สร้างเสริมสุขภาพ การฉีด วัคซีนป้องกัน การตรวจโรคก่อนเข้าทำงานและระหว่างการทำงาน เพื่อดูความพร้อม ในการทำงาน
การป้องกันแบบทุติยภูมิ (Secondary Prevention)
การตรวจร่างกายคัดกรอง การตรวจสอบประสาทสัมผัสต่างๆ และการตรวจเพื่อเฝ้าระวังโรคและสุขภาพ
การป้องกันแบบตติยภูมิ (Tertiary Prevention)
การรักษาพยาบาล เมื่อเกิดการเจ็บป่วยและป้องกันมิให้เกิดซ้ำอีกรวมทั้งการควบคุมมิให้เกิดการพิการและโรคเรื้อรัง
การป้องกันและควบคุมอุบัติเหตุจากการประกอบอาชีพ
(Prevention and Control of Occupational Accidents)
ป้องกันและควบคุมอุบัติเหตุ การบาดเจ็บ พิการ และเสียชีวิต สืบเนื่องมาจากการกระทำที่ไม่ปลอดภัยในสถานที่ทำงานที่มีความเสี่ยงของแรงงาน
การป้องกันและควบคุมมลพิษในสิ่งแวดล้อม (Environment Pollution Control)
โรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ มักก่อให้เกิดเศษซากสิ่งของเหลือใช้ กลายเป็นขยะ อุตสาหกรรม ทำให้เกิดมลพิษทางอากาศ น้้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม เสียงรบกวน แพร่กระจายใน สิ่งแวดล้อมทั้งในการทำงานและในชุมชน
หลักในการป้องกันและควบคุมโรคในงานอาชีวอนามัย
การป้องกันและควบคุมสิ่งคุกคามใหม่
การป้องกันและควบคุมสิ่งที่ทราบอยู่แล้ว
การป้องกันและควบคุมการได้รับสัมผัส
แนวทางการดำเนินงานอาชีวอนามัย
การป้องกันโรคและส่งเสริมสุขภาพ
มีการตรวจสุขภาพอนามัยคนงานเป็นระยะๆ
มีการตรวจสุขภาพอนามัยในกลุ่มคนงานพิเศษ
มีการให้สุขศึกษา สวัสดิการแก่เจ้าหน้าที่และคนงาน
มีการให้ภูมิคุ้มกันโรคแก่เจ้าหน้าที่ที่มีภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรคเช่น การฉีดวัคซีน
มีโครงการในเรื่องโภชนา
มีบริการด้านสวัสดิการ เช่น ให้มีการพักผ่อนหย่อนใจ และการบริการ
การรักษาพยาบาลและการส่งต่อ
มีการปฐมพยาบาลในกรณีที่คนงานได้รับอุบัติเหตุก่อนส่งต่อเพื่อรักษา
ฟื้นฟูสภาพ
มีการตรวจสุขภาพคนงานที่หายเจ็บป่วยแล้ว
ตรวจพิเศษด้านอาชีวเวชศาสตร์
ตรวจสมรรถภาพการได้ยิน
ตรวจสมรรถภาพปอด
ตรวจสมรรถภาพการมองเห็น
การบันทึกระเบียนรายงาน
มีการรวบรวมสถิติเกี่ยวกับสุขภาพอนามัย
แนวทางปฏิบัติงานบริการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในโรงพยาบาล
การเฝ้าระวังสิ่งคุกคาม (Hazard surveillance)
การสำรวจและเก็บตัวอย่างสิ่งคุกคามการทำงานโดยการใช้แบบสำรวจ (check list)
การวิเคราะห์ตัวอย่างผลจากการวิเคราะห์ตัวอย่างให้นำมาเปรียบเทียบกับค่ามาตรฐาน
การแปลผลข้อมูลพบว่า สิ่งคุกคามอยู่ในระดับสูงถึงขีดอันตรายจำเป็นที่จะต้องมี การดูดและควบคุมโดยการแก้ไข ปรับปรุงให้สภาพแวดล้อมการทำงานดีขึ้น
เก็บรวบรวมและบันทึกผลการตรวจวัดจัดทำข้อมูลเชิงสถิติดูแนวโน้มของปัญหา
การกระจายข้อมูลข่าวสาร
การเฝ้าระวังทางสุขภาพ (Health surveillance)
2.1 การตรวจร่างกายแรกเข้าทำงาน
2.2 การตรวจร่างกายเป็นระยะ
2.3 การให้ความรู้แก่ผู้ปฏิบัติงาน
2.4 การรวบรวมรายงานโรคการบาดเจ็บจากการทำงาน
อันตรายจากสภาพแวดล้อมในการทำงานและการควบคุม
อันตรายจากสภาพแวดล้อมทางเคมี (Chemical Environmental Hazards)
สารเคมีมาใช้ในการทำงาน หรือมีสารเคมีที่เป็นอันตรายเกิดขึ้นจากขบวนการผลิตของงานรวมทั้งวัตถุพลอยได้จากการผลิต เช่น
กลุ่มสารเคมีที่เป็นพิษ ก๊าซพิษ สารประกอบไฮโดรคาร์บอน ตัวทำละลาย
ฝุุนละอองที่ทำให้เกิดโรคปอด
สารเคมีที่ก่อมะเร็ง
อันตรายจากสภาพแวดล้อมทางกายภาพ (Physical Environmental Hazards)
เสียง (Noise)
แสงสว่าง (Lighting)
ความสั่นสะเทือน (Vibration)
อุณหภูมิที่ผิดปกติ (Abnormal temperature)
ความดันบรรยากาศที่ผิดปกติ (Abnormal pressure)
รังสี (Radiation)
อันตรายจากสภาพแวดล้อมทางชีวภาพ (Biological Environmental Hazards)
ฝุ่นละอองจากส่วนของพืชหรือสัตว์
การติดเชื้อจากสัตว์หรือแมลง
การถูกทำร้ายจากสัตว์หรือแมลง
อันตรายจากสภาพแวดล้อมทางด้านการยศาสตร์(Ergonomics)
เกิดจากการใช้ท่าทางทำงานที่ไม่เหมาะสม วิธีการปฏิบัติงานที่ไม่ถูกต้อง
อันตรายจากสภาพแวดล้อมทางเคมี( Chemical Environmental Hazards)
สารเคมีที่ฟุูงกระจายในอากาศได้ 2 ลักษณะ >>>
สารเคมีฟุูงกระจายในรูปอนุภาค (Particulate)
ฝุุ่น (Dust) เป็นฝุ่นที่ฟุู่งกระจายในอากาศ
ฟูม (Fume) เป็นอนุภาคของแข็งที่เกิดขึ้นจากการควบแน่นของสารที่อยู่ในสถานะที่เป็นก๊าซ
ละออง (Mist) เป็นหยดของเหลวที่แขวนลอยในอากาศ เกิดจากการควบแน่นของ สารจากสถานะที่เป็นก๊าซ
เส้นใย (Fiber) อนุภาคของแข็งที่มีรูปร่างยาวและบาง
หมอกควัน (Smog) เป็นคำที่มาจากคำว่า ควัน (Smoke) และหมอก (Fog)
สารเคมีฟุูงกระจายในรูปก๊าซและไอระเหย (Gas and vapour
)
สารเคมีในรูปของไหลที่มีรูปร่างไม่แน่นอน เปลี่ยนแปลงไปตามภาชนะที่บรรจุ เมื่อรั่วไหลออก
จากภาชนะก็จะฟุูงกระจายไปทั่วห้อง
ทางเข้าสู่ร่างกายของสารเคมี
ทางเข้าสู่ร่างกายของสารเคมี
ทางการดูดซึมทางผิวหนัง (Skin Absorption)
ทางการกิน (Ingestion)
ทางการฉีดเข้าผิวหนัง (Injection through Skin)
อันตรายของสารเคมีต่อร่างกาย
อันตรายของก๊าซและไอสาร
สารที่ทำให้หมดสติ เช่น ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ และไฮโดรเจนไซยาไนด์
สารที่ทำให้เกิดความระคายเคือง เช่น แอมโมเนีย ฟอร์มาลดีไฮด์ ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ไนโตรเจนออกไซด์
สารที่เป็นพิษต่อระบบของร่างกาย เช่น เบนซีน คาร์บอนเทตราคลอไรด์
สารก่อมะเร็ง เช่น เบนซีน นิคเกิลคาร์บอนีล
2.อันตรายของอนุภาคสาร
ฝุ่นหรือฟูมที่เป็นพิษ
ฝุ่นที่ทำให้เกิดโรคปอดฝุ่น
ฝุุ่นสารก่อมะเร็ง
ละอองพิษ
1 more item...
วิธีการควบคุมฝุ่นละออง
วิธีการปิดคลุมต้นตอหรือแหล่งที่เกิดมีปัญหาสารเคมีหรือฝุ่นมาก
แยกกระบวนการหรือเครื่องจักรที่เป็นต้นเหตุของปัญหา
ใช้วิธีการหาวัสดุที่มีอันตรายน้อยกว่ามาใช้แทนวัสดุที่เป็นอันตรายมาก
การทำให้เกิดความชื้นหรือระบบเปียกเข้าช่วยเพื่อลดการฟุูงกระจายของฝุุนหรือ สารเคมี
การติดตั้งระบบกำจัดหรือกักเก็บบรรจุถุงหรือติดตั้งเครื่องดูดเฉพาะที่
ทำความสะอาดเป็นประจำ
การใช้วัสดุเครื่องป้องกันสำหรับร่างกาย
อันตรายจากสภาพแวดล้อมทางกายภาพ (Physical Environmental Hazards)
มลพิษทางเสียง (Noise Pollution)
เสียงที่ดังสม่ำเสมอ (Steady – state Noise)
เสียงที่เปลี่ยนแปลงระดับเสมอ (Fluctuation)
เสียงที่ดังเป็นระยะ (Intermittent Noise)
เสียงกระแทก (Impulse Noise or Impact Noise)
ผลกระทบของเสียงรบกวน
ต่อระบบการได้ยิน
ต่อสุขภาพทั่วไปและจิตใจ
ต่อการสื่อสาร
ทำให้ประสิทธิภาพการทำงานลดลง
ต่อความปลอดภัยในการทำงาน
การกำหนดมาตรฐานความดังของเสียง
1 more item...
การสั่นสะเทือน (Vibration)
อันตรายที่เกิดจากการสั่นสะเทือนทั้งร่างกาย
อันตรายที่เกิดจากการสั่นสะเทือนเฉพาะบางส่วนของร่างกาย
วิธีการป้องกันอันตรายจากแรงสั่นสะเทือน
การทำงานที่ต้องเกี่ยวข้องกับสภาพแวดล้อมที่มีแรงสั่นสะเทือนทั้งมากหรือน้อยก็ตามควรเลือกใช้เครื่องมืออุปกรณ์ที่มีความสมบูรณ์
ความกดบรรยากาศที่ผิดปกติ
ความกดดันที่ต่ำกว่าปกติ
ความกดดันที่สูงกว่าปกติ
ความร้อน (Heat)
เช่น การทำงานกลางแจ้งที่มีแดด ร้อนจัดและการทำงานในอุตสาหกรรมการผลิตที่ต้องใช้ความร้อน เช่น อุตสาหกรรมหลอมโลหะ อุตสาหกรรม เครื่องเคลือบดินเผา อุตสาหกรรมแก้ว
วิธีการควบคุมความร้อน (Heat Control)
การลดอุณหภูมิโดยการติดตั้งเครื่องปรับอากาศ
การใช้แผ่นปูองกันความร้อน
การแลกเปลี่ยนความร้อนโดยการใช้น้ำ
การใช้แผ่นฉนวนกันความร้อน
ใช้แผนกระจกสะท้อน
การใช้อุปกรณ์เครื่องป้องกันความร้อน
ลดระยะเวลาการทำงาน
แสงสว่าง
การทำงานที่ที่มีแสงสว่างน้อยเกินไป อาจทำให้ต้องใช้สายตาเพ่งมากกว่าปกติเกิดอาการปวด ศีรษะ และตาล้า
รังสี
รังสีชนิดแตกตัว เกิดจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
รังสีชนิดไม่แตกตัว
อันตรายจากสภาพแวดล้อมทางชีวภาพ (Biological Environmental Hazards)
การติดเชื้อโรคต่างๆพบในเกษตรกรหรือคนงานที่คลุกคลีกับสัตว์
การเป็นโรคพยาธิ
การเกิดการระคายเคือง หรือภูมิแพ้
การถูกสัตว์กัด ในขณะทำงาน
อันตรายจากสิ่งแวดล้อมทางจิตวิทยาสังคม
การเกิดความเครียดหรือรู้สึกเบื่อหน่ายต่องาน
การเกิดความกดดันจากสภาพงานที่ไม่เหมาะสม
การเกิดอุบัติเหตุจากปัญหาจิตวิทยาสังคม
อันตรายจากสภาพแวดล้อมทางด้านการยศาสตร์ (Ergonomics)
กลุ่มโรคจากการยศาสตร์ผิดปกติ เช่น - บริเวณคอ ได้แก่ อาการปวดตึงบริเวณคอ (Tension neck syndrome)
บริเวณไหล่
บริเวณหลัง
การเกิดอุบัติเหตุเนื่องจากการทำงาน
สาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุจากการทำงาน
สาเหตุจากการปฏิบัติงานที่ไม่ปลอดภัย (Unsafe act)
สภาพการทำงานที่ไม่ปลอดภัย
แนวทางการป้องกันการประสบอันตราย
การกำหนดมาตรการความปลอดภัย
การตรวจความปลอดภัย
กฎหมายความปลอดภัย
การศึกษาวิจัยความปลอดภัย
การฝึกอบรมด้านความปลอดภัย
การสร้างเสริมทัศนคติด้านความปลอดภัย
1 more item...
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับงานอาชีวอนามัย
พระราชบัญญัติ คุ้มครองแรงงาน พ .ศ .2541 แก้ไขเพิ่มเติมโดย
พระราชบัญญัติ คุ้มครองแรงงาน (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2562
พระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. 2537 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติเงินทดแทน (ฉบับที่ 2( พ.ศ. 2561)
พระราชบัญญัติประกันสังคม (ฉบับที่ 4( พ.ศ. 2558 )
พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 แก้ไขโดย พระราชบัญญัติ โรงงาน 3 ฉบับที่( พ .ศ.2562)
พระราชบัญญัติ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมใน การทำงาน พ.ศ. 2554
ระเบียบกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ว่าด้วยพนักงาน กองทุนเพื่อผู้ใช้แรงงาน พ.ศ. 2553
บทบาทและหน้าที่ของพยาบาลอาชีวอนามัย
ด้านบริหาร
1.1 ร่วมวางแผนให้บริการสุขภาพและความปลอดภัยแก่พนักงานและลูกจ้าง
1.2 ร่วมกำหนดนโยบายสุขภาพและความปลอดภัยของหน่วยงาน
1.3 บริหารจัดการงบประมาณ เครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์ ใช้ในการดูแลสุขภาพ รวมทั้งจด บันทึกรายงานต่างๆ
1.4 จัดทำระเบียบรายงานการให้บริการสุขภาพ สถิติการเจ็บป่วยจัดทำรายงานอุบัติเหตุที่เกิดขึ้น
1.6 ริเริ่มโครงการใหม่ๆ และปรับปรุงโครงการเดิมให้ทันสมัยและควบคุมกำกับให้โครงการ บรรลุวัตถุประสงค์
1.7 ประเมินผลลัพธ์ในการดำเนินงานโครงการต่างๆ
1.8 เป็นที่ปรึกษาโครงการทางด้านสุขภาพและความปลอดภัย และจัดอัตราก าลังการ ปฏิบัติงานของบุคลากรด้านสุขภาพ
1.9 จัดทำงานประกันคุณภาพ มีการตรวจสอบและประเมินคุณภาพบริการทั้งภายในและ ภายนอกองค์กร
1.10 ประสานงานกับแหล่งประโยชน์ในชุมชน
1.11 ตระหนักถึงความสำคัญของการเปลี่ยนแปลงด้านกฎหมาย เทคโนโลยีต่างๆ และการเปลี่ยนแปลงของวิชาชีพที่เกี่ยวข้องกับภาวะสุขภาพและความปลอดภัยของผู้ใช้แรงงานในสังคมไทย
1.5 ประสานงานในการจัดการศึกษาและฝึกอบรมให้แก่กลุ่มพนักงาน
1.12 เป็นพี่เลี้ยงดูแลหรือผู้รับรองดูแลการศึกษาดูงานสำหรับพยาบาลและนักศึกษา
การบริการในคลินิก
2.2การให้คำปรึกษาและการจัดการดูแลในภาวะวิกฤติ
2.3การสร้างเสริมสุขภาพและลดความเสี่ยง
2.4การปฏิบัติตามข้อกำหนดกฎหมาย
2.5การปกปูองสุขภาพจากสิ่งก่ออันตรายในสถานประกอบการของ
ผู้ใช้แรงงาน
ด้านการศึกษา
ด้านการวิจัย
บทบาทของพยาบาลอาชีวอนามัย
การบริหารจัดการผู้เจ็บป่วยรายกรณี
การให้คำปรึกษาหารือ และการจัดการดูแลในภาวะวิกฤติ
การส่งเสริมสุขภาพและลดความเสี่ยง
การปฏิบัติตามข้อกำหนดกฎหมาย