Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การคลังและการจัดการด้านสาธารณสุข - Coggle Diagram
การคลังและการจัดการด้านสาธารณสุข
การคลังสาธารณสุข
ประชาชนเพียงใดรายได้ของรัฐเพื่อใช้จ่ายด้านสาธารณสุขการเก็บภาษีการบังคับให้ลูกจ้างและนายจ้างจ่ายการประกนสุขภาพส่วนบุคคล
การคลังคือแหล่งที่มาของเงินว่ามาจากแหล่งที่ใดบ้างและเงินเหล่านี้มีเพียงพอต่อการพัฒนาด้านสาธารณสุขหรือเพื่อประโยชน์
รายได้ของรัฐ
เก็บภาษี
การบังคับให้ลูกจ้างและนายจ้างจ่าย
การประกันสุขภาพส่วนบุคคล
ประเภทของการคลัง
การคลังมหาชน
ภาษีอากร
Direct taxation = เก็บตามสัดส่วนรายได้ของบุคคล
Indirect taxation = เก็บตามสินค้าและบริการ เช่น Value added tax ภาษีบุหรี่ ภาษีนํ้ามัน
หนี้สาธารณะ
ใครมีหน้าที่เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ได้แก่ผู้ที่มีเงินได้เกิดขึ้นระหวางปี ที่ผ่านานมาโดยมีสถานะอย่างหนึ่งอย่างใด
ห้างหุ้นส่วนสามัญหรือคณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคล
ผู้ถึงแก่ความตายระหวางปี ภาษี
บุคคลธรรมดา
กองมรดกที่ยังไม่ได้แบ่ง
วิสาหกิจชุมชน ตามกฎหมายวาด้วยการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนเฉพาะที่เป็นห้างหุ้นส่วนสามัญ หรือคณะบุคคลที่มิใช่
ฐานภาษี: สิ่งที่เป็ นเกณฑ์ในการจัดเก็บภาษี
ฐานเกี่ยวกับการบริโภค(Consumption Base) เช่น ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีศุลกากร ภาษีสรรพสามิต
ฐานเกี่ยวกบความมั่งคั่ง (Wealth Base ) เช่น ภาษี ที่ดิน ภาษีโรงเรือน ภาษีมรดก
ฐานเกี่ยวกับรายได้ั (Income Base) เช่น ภาษีเงินได้ บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้นิติ บุคคล
ฐานสิทธิพิเศษในการประกอบการ เช่น ใบอนุญาตขายสุรา
ภาษีท้องถิ่น (Local Government Tax)
เป็นฐานในการจัดประกันสุขภาพ (Community based) มีวิธีการ
การเก็บเบี้ยประกัน
การเก็บภาษี ท้องถิ่น
จัดเก็บรายได้ที่เป็นบริการ ภาษีที่ได้จะนําไปใช้จ่ายเฉพาะ อย่างใดอย่างหนึ่งเท่านั้น เช่น Health tax
การจัดเก็บจากเงินสมทบ(Contributions)
เงินสมทบ หมายถึงเงินที่ผู้เอาประกันจ่ายให้แก่ผู้ให้ประกันล่วงหน้าก่อน เพื่อให้ได้รับสิทธิครอบคลุมค่าใช้จ่ายสุขภาพ
การจัดเก็บจากส่วนร่วมจ่าย(Cost-Sharing)
ส่วนร่วมจ่าย (Cost-Sharing) คือ เงื่อนไขของการประกนสุขภาพ ซึ่งเรียกร้องให้บุคคล ที่ได้รับความครอบคลุมจ่ายส่วนของราคาการดูแลรักษาพยาบาลที่ได้รับ มี 3รูปแบบ
ส่วนจ่ายร่วม (Co-Payments)
ส่วนร่วมประกัน(Co-Insurance)
การให้รับผิดชอบเบื้องต้นก่อนการคุ้มครอง (Deductibles)
การจัดเก็บจากเบี้ยประกันเอกชน
(Private Premiums)
การที่บุคคลนําเงินไปซื้อประกนเอกชนหรือการที่นายจ้างซื้อประกันเอกชนให้กับลูกจ้างโดยสมัครใจ
การจัดเก็บจากแหล่งอื่น
การออกสลาก (Government lottery)
การกู้เงินของรัฐบาล(Deficit financing)
งบประมาณเพื่อการสาธารณสุข
เงินงบประมาณแผ่นดิน
เงินนอกงบประมาณ
เงินงบประมาณรายจ่าย
การคลังเอกชน
Out of pocket spending
Voluntary health insurance
แหล่งเงินที่ไม่เกี่ยวข้องกบงบประมาณหรือรายจ่ายของรัฐแหล่งที่มาของการ คลังของเอกชน คือ
Employer benefit
Community financing
Compulsory saving
Donation
รายจ่ายด้านสาธารณสุขและการจัดสรรรายจ่าย
รายจ่ายสาธารณสุข (public Health Expenditure) การใช่จ่ายของรัฐบาลด้าน สาธารณสุข มี 4 ประการ ได้แก่ เพื่อส่งเสริมสุขภาพ เพื่อป้องกันโรค เพื่อรักษา เพื่อฟื้นฟู
ประเภทของรายจ่าย
งบลงทุน
งบเงินอุดหนุน
งบดําเนินงาน
งบรายจ่ายอื่นๆ
รูปแบบการจัดสรรรายได้ของระบบประกันสุขภาพ
การจัดสรรเข้าสู่กองทุนเฉพาะ(Earmarked Fund)
1.การจัดสรรผานกระบวนการงบประมาณ (Budget Process)
Budget Process
วิธีการจัดสรรงบประมาณของไทย ประกอบด้วย 3กระบวนการ
กระบวนการจัดเตรียมหรือจัดทํางบประมาณ
กระบวนการอนุมัติงบประมาณ
กระบวนการบริหารงบประมาณ
Earmarked Fund
(1) การกนเงินที่จัดเก็บเฉพาะแล้วกำหนดเงินที่ได้นําไปเพื่อใช้จ่ายในโครงการเฉพาะเจาะจง
(2) การกนเงินจากกลุ่มเงินจํานวนหนึ่งแล้วนําเงินที่ได้ไปใช้จ่ายใน โครงการ เฉพาะเจาะจง
สําหรับการจัดสรรรายได้เข้าสู่กองทนุเฉพาะของระบบประกันสุขภาพ สามารถแบ่งออกได้เป็น 2ลักษณะ คือ