Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาบรรเทาปวดที่มีฤทธิ์เสพติด, ฝิ่น นำมาใช้เพื่อบำบัดรักษาอาการปวด สารประกอบ…
-
ฝิ่น นำมาใช้เพื่อบำบัดรักษาอาการปวด สารประกอบ
alkaloids ฤทธิ์ระงับปวดมี 2
ชนิด คือ morphine และ codeine
ยาบรรเทาปวดที่มีฤทธิ์เสพติด
- Opioid = จับกับตัวรับ opioid receptors (mu,delta,kappa)
-
- มีฤทธิ์อ่อน ถูกดูดซึมได้ดีจากทางเดินอาหาร
- มีความแรง 1/10 เท่าของ Morphine
- ลดอาการปวด และกดอาการไอได้
-
- เป็นยาสังเคราะห์ มีความแรง 1/20 - 1/5 เท่าของ Morphine
:red_cross:ผลข้างเคียง
เวียนศีรษะ N/V ง่วงซึม ท้องผูก
- ขนาดยาที่แนะนำ คือ 50 - 100 mg ทุก 6 ชั่วโมง โดยไม่ควรเกิน 400 mg/วัน
:warning: ระวังการใช้ในคนที่มีประวัติเป็นลมชักจำหน่ายให้อายุ 17 ปีขึ้นไป ครั้งละไม่เกิน 20 เม็ด
และต้องทำบัญชีขายยา
-
-
:check: รักษาอาการปวดปานกลางถึงปวดรุนแรงทั้งชนิด เฉียบพลันและเรื้อรัง
- รูปแบบฉีด SC หรือ IM
:warning: ถ้าให้ IV ต้องเตรียมเครื่องช่วยหายใจ และยาต้านพิษของ Morphine
-
:check: ใช้ในการระงับปวดแบบรุนแรงเฉียบพลัน
- ระงับปวดน้อยกว่า Morphine
- ระยะเวลาในการออกฤทธิ์สั้น
ยาสังเคราะห์ที่ออกฤทธิ์ได้เร็ว 5-10 นาที แต่ออกฤทธิ์สั้น 1-2 ชั่วโมง
- รูปแบบแปะผิวหนังใช้กรณีปวดเรื้อรัง
-
-
-
-
-
- CNS = ระงับปวด อาการเคลิ้มฝัน ง่วงซึม N/V ม่านตาหรี่
- ระบบทางเดินอาหาร = ท้องผูก
- ระบบทางเดินปัสสาวะ = ไตทำงานหนัก
- ระบบหัวใจและหลอดเลือด = หลอดเลือดส่วนปลายขยายตัว Bp ต่ำ
- ระบบทางเดินหายใจ = กดการหายใจ กดศูนย์ควบคุมการไอ
-
เพื่อให้ได้ประสิทธิภาพของยาเท่าเดิม ผู้ป่วยจะต้องการยาในปริมาณที่มากขึ้น ถี่ขึ้น
เพราะระยะเวลาการออกฤทธิ์ของยาสั้นลง
-
มักเกิดเมื่อใช้ opioid ในขนาดที่เพียงพอ สม่ำเสมอ
ทำให้เวลาที่หยุดใช้ยากลุ่มนี้ทันที หรือลดขนาดยาลงอย่างรวดเร็ว หรือได้
ยา antagonist เข้าไป ร่างกายจะมีปฏิกิริยาถอนยา(withdrawal) เกิดขึ้น