Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 แนวทางการดำเนินงานอาชีวอนามัย, สารเคมีฟุูงกระจายในรูปอนุภาค…
บทที่ 5 แนวทางการดำเนินงานอาชีวอนามัย
แนวทางการดำเนินงานอาชีวอนามัย
ฟื้นฟูสภาพ
ตรวจพิเศษด้านอาชีวเวชศาสตร์
การรักษาพยาบาลและการส่งต่อ
การบันทึกระเบียนรายงาน
การป้องกันโรคและส่งเสริมสุขภาพ
แนวทางปฏิบัติงานบริการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในโรงพยาบาล
การเฝ้าระวังสิ่งคุกคาม (Hazard surveillance)
การเฝ้าระวังทางสุขภาพ (Health surveillance)
การจัดบริการอาชีวอนามัยเชิงรุกสำหรับผู้ประกอบอาชีพในชุมชนบริการเชิงรุก
การให้ความรู้คำปรึกษาการวิชาการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยแก่ผู้ประกอบอาชีพนายจ้าง
จัดอบรมอสมเพื่อพัฒนาเป็นอาสาสมัครสาธารณสุขด้านอาชีวอนามัย อสช
การจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพโดยการวางแผนและออกแบบโปรแกรมสร้างเสริมสุขภาพที่สอดคล้องกับสภาวะสุขภาพของผู้ประกอบอาชีพ
การเก็บรวบรวมข้อมูลพื้นฐานด้านอาชีวอนามัยสำหรับผู้ประกอบอาชีพทุกกลุ่ม
การจัดบริการตรวจสุขภาพให้กับผู้ประกอบอาชีพ
การสอบสวนโรคหรืออุบัติเหตุจากการทำงาน
สนับสนุนเครือข่ายในการจัดการความเสี่ยงจากการทำงานของสถานประกอบการหรือผู้ประกอบอาชีพในพื้นที่
การสำรวจสถานที่ทำงานเพื่อค้นหาสิ่งคุกคามสุขภาพและประเมินความเสี่ยงจากการทำงานของผู้ประกอบอาชีพในพื้นที่
จัดทำแผนเพื่อรองรับภาวะฉุกเฉินจากสารเคมีไฟไหม้สถานที่ทำงาน
อันตรายจากสภาพแวดล้อมในการทำงานและการควบคุม
อันตรายจากสภาพแวดล้อมทางกายภาพ (Physical Environmental Hazards)
มลพิษทางเสียง (Noise Pollution)
1.3 เสียงที่ดังเป็นระยะ (Intermittent Noise) เป็นเสียงที่มีความดังไม่ต่อเนื่องแตกต่างจากเสียงกระแทกในด้านที่มีระยะเวลานานกว่า และมีลักษณะที่ไม่แน่ชัด
1.4 เสียงกระแทก (Impulse Noise or Impact Noise) เป็นเสียงที่เกิดจากการกระทบหรือกระแทก เกิดจากการกระทบของวัตถุ เสียงจะเกิดขึ้นแล้วค่อยๆหายไป
1.2 เสียงที่เปลี่ยนแปลงระดับเสมอ (Fluctuation) เป็นเสียงที่มีระดับความเข้มที่ไม่คงที่ สูงๆ ต่ำๆ มีการเปลี่ยนแปลงระดับเสียงที่เกินกว่า 5 เดซิเบล ใน 1 วินาที
1.1เสียงที่ดังสม่ำเสมอ (Steady – state Noise) เป็นเสียงที่มีความดังต่อเนื่องเป็นระยะเวลานาน มีระดับเสียงที่เปลี่ยนแปลงไม่เกิน 5 เดซิเบล ใน 1 วินาที
ผลกระทบของเสียงรบกวน
-ต่อสุขภาพทั่วไปและจิตใจ ทำให้การทำงานของระบบไหลเวียนโลหิต ระบบประสาทระบบต่อมต่อไร้ท่อ ทำให้สมดุลร่างกายเปลี่ยนแปลง โดยทำให้ความดันโลหิตสูงขึ้นกว่าปกติ
-ต่อการสื่อสาร ทำให้ผู้ปฏิบัติงานไม่ได้ยินสัญญาณอันตรายที่ดังขึ้น หรือไม่ได้ยินเสียงตะโกนบอกให้ระวังอันตราย ทำให้เกิดอุบัติเหตุในการทำงานได้
-ต่อระบบการได้ยิน แบ่งออกได้เป็น 2 แบบ แบบแรก จะเป็นการสูญเสียการได้ยินแบบชั่วคราว และแบบหลังเป็นการสูญเสียการได้ยินแบบถาวร
-ทำให้ประสิทธิภาพการทำงานลดลง ในงานที่ต้องใช้สมองหรือใช้ความคิด งานที่ยุ่งยากซับซ้อน งานที่มีรายละเอียดมาก และงานที่ต้องมีการรับส่งข่าวสาร
การกำหนดมาตรฐานความดังของเสียง
กำหนดให้มีระดับความดังของเสียงไม่เกิน 90 เดซิเบล
ลูกจ้างที่ทำงานไม่เกินวันละ 8 ชั่วโมง และ
ระดับความดังของเสียงไม่เกิน 80 เดซิเบล
ลูกจ้างที่ทำงานเกินกว่าวันละ 8 ชั่วโมง และตามมาตรฐานสากลกำหนด ให้มีระดับความดังของเสียงไม่เกิน 85 เดซิเบล
สำหรับผู้ที่ทำงานวันละ 8 ชั่วโมง
และระดับความดังไม่เกิน 90 เดซิเบล
การสั่นสะเทือน (Vibration)
อันตรายที่เกิดจากการสั่นสะเทือนทั้งร่างกาย
อันตรายที่เกิดจากการสั่นสะเทือนเฉพาะบางส่วนของร่างกาย
ความกดบรรยากาศที่ผิดปกติ
ความกดดันที่ต่ำกว่าปกติ ของผู้ที่ต้องขึ้นไปในที่สูงมาก
ความกดดันที่สูงกว่าปกติคือ การทำงานภายใต้สภาพแวดล้อมที่ผิดปกติสูงกว่าความกดดันของระดับน้ำทะเล
ความร้อน (Heat)
เป็นสภาพแวดล้อมที่เกิดขึ้นได้จากธรรมชาติของการทำงาน เช่น การทำงานกลางแจ้งที่มีแดดร้อนจัด และการทำงานในอุตสาหกรรมการผลิตที่ต้องใช้ความร้อน
วิธีการควบคุมความร้อน (Heat Control)
การลดอุณหภูมิโดยการติดตั้งเครื่องปรับอากาศ
การใช้แผ่นปูองกันความร้อน เพื่อช่วยลดความร้อนที่แผ่รังสีความร้อนออกมา
การแลกเปลี่ยนความร้อนโดยการใช้น้าเป็นตัวผ่านแผ่นปูองกันความร้อน
การใช้แผ่นฉนวนกันความร้อน เพื่อดูดซับความร้อนไว้
ใช้แผนกระจกสะท้อนหรือดูดซับความร้อนเป็นฉากปูองกัน
การใช้อุปกรณ์เครื่องปูองกันความร้อนส่วนบุคคล
ลดระยะเวลาการทำงานของผู้ที่ต้องทำงานในที่ที่มีความร้อนสูง
แสงสว่าง
การทำงานที่ที่มีแสงสว่างน้อยเกินไป อาจทำให้ต้องใช้สายตาเพ่งมากกว่าปกติเกิดอาการปวดศีรษะ และตาล้า และอาจเป็นสาเหตุให้เกิดอุบัติเหตุได้
หลักและวิธีการจัดแสงสว่างอย่างถูกต้อง
ควรจัดแสงสว่างเฉพาะที่โดยทั่วไป (Localized General Lighting) เป็นการจัดติดตั้งแสงสว่างเฉพาะที่ เพื่อปูองกันมิให้การเกิดเงาและแสงสะท้อนเกิดขึ้น
การให้แสงสว่างเพิ่มขึ้นเฉพาะจุด (Local Lighting) เป็นการเพิ่มความสว่างของแสงเฉพาะบริเวณที่จุดใดจุดหนึ่งที่จำเป็นสำหรับงาน
ควรจัดแสงสว่างโดยทั่วไปในพื้นที่การทำงานอย่างทั่วถึงทั้งบริเวณ (General Lighting) มีความเข้มของแสงสม่ำเสมอกันทั้งหมด
การเสริมแสงสว่าง (Supplementary Lighting) คือการเพิ่มหรือติดตั้งแสงสว่างเสริมตามความจำเป็นของส่วนงานอย่างเหมาะสมกับบริเวณพื้นที่
รังสี
รังสีชนิดแตกตัว เกิดจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟูา เช่น รังสีเอ็กซ์ที่ใช้ในด้านการแพทย์ ด้านวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรมบางประเภท
รังสีชนิดไม่แตกตัว เป็นรังสีจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟูาชนิดที่มความยาวคลื่นมากกว่ารังสีชนิดแตกตัว เช่นรังสีเหนือม่วง รังสีใต้แดง ไมโครเวฟและคลื่นวิทยุ
อันตรายจากสภาพแวดล้อมทางชีวภาพ (Biological Environmental Hazards)
การติดเชื้อโรคต่างๆ พบในเกษตรกรหรือคนงานที่คลุกคลีกับสัตว์
หนังสัตว์ หรือ ฟางข้าว ชานอ้อยที่มีเชื้อแบคทีเรีย ไวรัส และเชื้อรา
การเป็นโรคพยาธิ อาจเกิดในเกษตรกรที่ท างานเกี่ยวข้องกับแหล่ง
โปรโตซัว หรือพยาธิ แมลงน าโรค บางชนิด
การเกิดการระคายเคือง หรือภูมิแพ้ สาเหตุมาจากฝุุน เช่น ขนและ
เกล็ด ของแมลง ขี้เลื่อย เรณุดอกไม้ รวมถึงฝุุนเส้นใยพืช
การถูกสัตว์กัด ในขณะทำงาน ซึ่งอาจเป็นสัตว์เลี้ยง สัตว์ป่า หรือ
สัตว์น้ำ
อันตรายจากสภาพแวดล้อมทางเคมี (Chemical Environmental Hazards)
ละออง (Mist)
เส้นใย (Fiber)
ฟูม (Fume)
หมอกควัน (Smog)
ฝุุน (Dust)
สารเคมีในรูปของไหลที่มีรูปร่างไม่แน่นอน เปลี่ยนแปลงไปตามภาชนะที่บรรจุเมื่อรั่วไหลออกจากภาชนะก็จะฟุูงกระจายไปทั่วห้อง
ทางเข้าสู่ร่างกายของสารเคมี
ทางการดูดซึมทางผิวหนัง (Skin Absorption)
ทางการกิน (Ingestion)
ทางการหายใจ (Inhalation)
ทางการฉีดเข้าผิวหนัง (Injection through Skin)
อันตรายของสารเคมีต่อร่างกาย
อันตรายของอนุภาคสาร
ฝุุนหรือฟูมที่เป็นพิษ เช่น ตะกั่ว แมงกานีส แคดเมียม
ฝุุนที่ทำให้เกิดโรคปอดฝุุน เช่น ฝุุนใยหิน (asbestos( ฝุุนหิน ถ่านหิน
ฝุุนสารก่อมะเร็ง เช่น ฝุุนใยหิน โครเมตส์ (chromates( ยูเรเนียม
ละอองพิษ เช่น กรดโคมิก และสารปราบศัตรูพืช
อันตรายของก๊าซและไอสาร
สารที่เป็นพิษต่อระบบของร่างกาย เช่น เบนซีน คาร์บอนเทตราคลอไรด์
สารที่ทำให้เกิดความระคายเคือง เช่น แอมโมเนีย ฟอร์มาลดีไฮด์ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ไนโตรเจนออกไซด์
สารที่ทำให้หมดสติ เช่น ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ และไฮโดรเจนไซยาไนด์
3.อันตรายของสารเคมีชนิดที่เป็นของเหลว
พวกสารตัวทำละลายต่างๆซึ่งรวมถึงน้ำมันเชื้อเพลิง ยางสน แอลกอฮอล์และสารสังเคราะห์บางชนิด
วิธีการควบคุมฝุ่นละออง
ใช้วิธีการหาวัสดุที่มีอันตรายน้อยกว่ามาใช้แทนวัสดุที่เป็นอันตรายมาก
การทำให้เกิดความชื้นหรือระบบเปียกเข้าช่วยเพื่อลดการฟุูงกระจายของฝุุนหรือสารเคมี
การติดตั้งระบบกำจัดหรือกักเก็บบรรจุถุงหรือติดตั้งเครื่องดูดเฉพาะที่ ณ จุดทำงาน
แยกกระบวนการหรือเครื่องจักรที่เป็นต้นเหตุของปัญหาออกจากบริเวณที่มีคนทำงานจำนวนมาก หรือหาวิธีการที่จะทาให้คนทำงานสัมผัสกับสิ่งที่ก่อให้เกิดปัญหาน้อยที่สุด
ทำความสะอาดเป็นประจำจะช่วยลดสารตกค้างหรือฝุุนละอองได้มากขึ้น
วิธีการปิดคลุมต้นตอหรือแหล่งที่เกิดมีปัญหาสารเคมีหรือฝุุนมาก
การใช้วัสดุเครื่องปูองกันสำหรับร่างกาย
อันตรายจากสภาพแวดล้อมทางด้านการยศาสตร์(Ergonomics)
การปฏิบัติงานที่มีการใช้อวัยวะต่างๆ ของร่างกายที่ไม่เป็นไปตามธรรมชาติของโครงสร้างและขีดความสามารถของอวัยวะภายในร่างกาย อาจก่อให้เกิดอันตราย
บริเวณคอ ได้แก่ อาการปวดตึงบริเวณคอ (Tension neck syndrome)
บริเวณไหล่ ได้แก่ อาการอักเสบของเอ็นกล้ามเนื้อไบเซพ (Bicipital Tendinitis)
บริเวณหลัง ได้แก่ อาการปวดหลัง (Low back pain)
อันตรายที่เกิดขึ้นทางด้านจิตใจ เช่น ความเบื่อหน่าย ความเครียด เป็นผลทำให้ประสิทธิภาพการทำงานลดลง
ความหมาย และความสำคัญของงานอาชีวอนามัย
การเลี้ยงชีพ การประกอบอาชีพ บุคคลที่ประกอบ สัมมาชีพ หรือคนที่ประกอบอาชีพทุกสาขาอาชีพ อนามัย (Health) หมายถึง สุขภาพอนามัย ความสุขภาพอนามัย ความไม่มีโรค หรือสภาวะความ สมบูรณ์ทั้งร่างกายและจิตใจของผู้ประกอบอาชีพ จากคำสองคำรวมกันเป็น อาชีวอนามัย
บทบาทและหน้าที่ของพยาบาลอาชีวอนามัย
ด้านการศึกษา
มีส่วนในการสร้างและพัฒนาหลักสูตร และด าเนินการฝึกอบรมสำหรับการพยาบาล อาชีวอนามัยในระดับต่างๆ รวมทั้งหลักสูตรฝึกอบรมพัฒนาคุณภาพของผู้ปฏิบัติงาน
ด้านการวิจัย
มีส่วนร่วมและดำเนินการวิจัยในงานอาชีวอนามัยเพื่อปรับปรุงคุณภาพการปฏิบัติงาน
การบริการในคลินิก
2.1การบริหารจัดการผู้เจ็บปุวยรายกรณี เป็นการดูแลรักษาช่วยเหลือ ติดตามและส่งต่อในกรณีที่ลูกจ้างบาดเจ็บหรือเจ็บปุวยจากการทำงาน
ด้านบริหาร
ร่วมวางแผนให้บริการสุขภาพและความปลอดภัยแก่พนักงานและลูกจ้าง
บทบาทของพยาบาลอาชีวอนามัย
การส่งเสริมสุขภาพและลดความเสี่ยง
การปฏิบัติตามข้อกาหนดกฎหมาย
การให้คำปรึกษาหารือ และการจัดการดูแลในภาวะวิกฤติ
การบริหารจัดการผู้เจ็บป่วยรายกรณี
การปกป้องจากสิ่งก่ออันตรายในสถานประกอบการของผู้ใช้แรงงาน
ขอบเขตของการดำเนินการอาชีวอนามัย
การป้องกันและควบคุมอุบัติเหตุจากการประกอบอาชีพ
เป็นการป้องกันและควบคุมอุบัติเหตุ การบาดเจ็บ พิการ และเสียชีวิต
การป้องกันและควบคุมมลพิษในสิ่งแวดล้อม
กระบวนการผลิตของโรงงานอุตสาหกรรมต่าง ๆ มักก่อให้เกิดเศษซากสิ่งของเหลือใช้ กลายเป็นขยะอุตสาหกรรม ทำให้เกิดมลพิษทางอากาศ น้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม
หลักในการป้องกันและควบคุมโรคในงานอาชีวอนามัย
การป้องกันและควบคุมสิ่งที่ทราบอยู่แล้ว
การป้องกันและควบคุมการได้รับสัมผัส
การป้องกันและควบคุมสิ่งคุกคามใหม่
การป้องกันและควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพ
1.1 การป้องกันแบบปฐมภูมิ (Primary Prevention) ด้วยการสร้างเสริมสุขภาพ การฉีดวัคซีนปูองกัน การตรวจโรคก่อนเข้าทำงานและระหว่างการทำงาน เพื่อดูความพร้อม ในการทำงาน
1.2 การป้องกันแบบทุติยภูมิ (Secondary Prevention) โดยการตรวจร่างกายคัดกรอง การตรวจสอบประสาทสัมผัสต่าง ๆ และการตรวจเพื่อเฝ้าระวังโรคและสุขภาพ
1.3 การป้องกันแบบตติยภูมิ (Tertiary Prevention) ได้แก่ การรักษาพยาบาล เมื่อเกิดการเจ็บปุวยและป้องกัน มิให้เกิดซ้ำอีกรวมทั้งการควบคุมมิให้เกิดการพิการและ โรคเรื้อรัง
สารเคมีฟุูงกระจายในรูปอนุภาค (Particulate) :warning:
สารเคมีฟุูงกระจายในรูปก๊าซและไอระเหย (Gas and vapour)