Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวทางการดำเนินงานอาชีวอนามัย - Coggle Diagram
แนวทางการดำเนินงานอาชีวอนามัย
ความหมาย
อาชีวอนามัย “Occupational Health” สุขภาพอนามัยของผู้ประกอบอาชีพทุกภาคส่วนของประเทศ ควรจะมีสภาวะที่สมบูรณ์ดีทั้ง
ร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สัมพันธภาพ และสถานภาพในสังคม
ความสำคัญของงานอาชีวอนามัย
การบริการอาชีวอนามัย คือ งานอาชีวอนามัยที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมและการ ธ ารงรักษาไว้ซึ่ง
สุขภาพอนามัยที่แข็งแรง สมบูรณ์ ปลอดภัย ไม่เกิดอุบัติเหตุ
แนวคิด
การสร้างเสริมและส่งเสริมสุขภาพในสถานที่ท างาน
การค้นหาอันตราย และความเสี่ยง
การตรวจวัดสภาพแวดล้อม และบรรยากาศ
การจัดการความเสี่ยง
การเฝูาระวังโรคและการตรวจร่างกาย
การจัดบริการห้องพยาบาลและจัดบริการ
การจัดเก็บรวบรวมสถิติข้อมูล สุขภาพของผู้ปฏิบัติงาน
วัตถุประสงค์
เพื่อปูองกันอันตรายที่อาจบั่นทอนสุขภาพอนามัยและความปลอดภัย
เพื่อดำเนินการจัดคนงานให้ท างานได้เหมาะสมกับความสามารถทั้งทางด้าน ร่างกาย จิตใจ อารมณ์ มีประสิทธิภาพ
เพื่อจัดให้มีการรักษาพยาบาล และฟื้นฟูสมรรถภาพจากการบาดเจ็บ
เพื่อช่วยเหลือและกระตุ้นให้มีมาตรการในการธำรงไว้ซึ่งสุขภาพอนามัยส่วนบุคคล
ขอบเขต
การส่งเสริมและธำรงรักษา
การป้องกัน
การคุ้มครองคนงาน
จัดคนงานให้ได้ทำงานในลักษณะงาน
มีการจัดปรับงานให้เข้ากับคนและจัดปรับคนให้เข้ากับงาน
ขอบเขตของการดำเนิน
การป้องกันและควบคุมโรค
การป้องกันและควบคุมอุบัติเหต
การป้องกันและควบคุมมลพิษในสิ่งแวดล้อม
แนวทางการดำเนินงาน
. การป้องกันโรคและส่งเสริมสุขภาพ
การรักษาพยาบาลและการส่งต่อ
ฟื้นฟูสภาพ
ตรวจพิเศษด้านอาชีวเวชศาสตร
การบันทึกระเบียนรายงาน
แนวทางปฏิบัติงานบริการ
การเฝ้าระวังสิ่งคุกคาม
การเฝ้าระวังทางสุขภาพ
การจัดบริการอาชีวอนามัยเชิงรุก
สำรวจสถานที่ทำงาน
สนับสนุนเครือข่ายในการจัดการความเสี่ยง
จัดบริการตรวจสุขภาพ
บริการสร้างเสริมสุขภาพ
ให้ความรู้คำปรึกษาการวิชาการ
อันตรายจากสภาพแวดล้อม
สภาพแวดล้อมทางเคมี
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ
สภาพแวดล้อมทางชีวภาพ
สภาพแวดล้อมทางด้านการยศาสตร์
การเกิดอุบัติเหตุ
กสิ่งแวดล้อมทางจิตวิทยาสังคม
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับงานอาชีวอนามัย
พระราชบัญญัติ คุ้มครองแรงงาน พ .ศ .2541 แก้ไขเพิ่มเติมโดย
พระราชบัญญัติ คุ้มครองแรงงาน (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2562
พระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. 2537 แก้ไขเพิ่มเติมโดย
พระราชบัญญัติเงินทดแทน (ฉบับที่ 2( พ.ศ. 2561)
พระราชบัญญัติประกันสังคม (ฉบับที่ 4( พ.ศ. 2558)
พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 แก้ไขโดย พระราชบัญญัติ
โรงงาน 3 ฉบับที่(( พ .ศ.2562)
พระราชบัญญัติ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมใน
การท างาน พ.ศ. 2554
ระเบียบกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ว่าด้วยพนักงาน
กองทุนเพื่อผู้ใช้แรงงาน พ.ศ. 2553
เงินทดแทน คือค่าทดแทนค่ารักษาพยาบาลและค่าท าศพเมื่อลูกจ้างประสบอันตรายหรือ
เจ็บปุวยหรือตายเนื่องจากการท างานให้กับนายจ้างลูกจ้างมีสิทธิได้รับเงินทดแทน
บทบาทและหน้าที่ของพยาบาลอาชีวอนามัย
. ด้านบริหาร
วางแผน ,กำหนดนโยบาย ,จัดงบประมาณ, จัดทำระเบียบรายงาน ,ประสานงาน, ริเริ่มโครงการใหม่ ๆ, ประเมินผล ,เป็นที่ปรึกษาโครงการ,จัดทำงานประกันสุขภาพ ,ประสานงานกับแหล่งประโยชน์
การบริการในคลินิก
บริหารจัดการผู้เจ็บปุวยรายกรณ๊
ให้คำปรึกษาและการจัดการดูแลในภาวะวิกฤต
สร้างเสริมสุขภาพและลดความเสี่ยง
ปฏิบัติตามข้อกำหนดกฎหมาย
ปกป้องสุขภาพจากสิ่งก่ออันตราย
ด้านการศึกษา
มีส่วนในการสร้างและพัฒนาหลักสูตร
ใช้ผลการวิจัยมาพัฒนาการจัดการศึกษา
ประสานงานและสนับสนุน
ประสานงานกับบุคลากรทางสุขภาพ
สำรวจความต้องการของบุคคลท างานกลุ่มต่างๆ
การประเมินผลโครงการจัดฝึกอบรม
ด้านการวิจัย
มีส่วนร่วมและด าเนินการวิจัย
เผยแพร่ผลงานด้านการพยาบาลอาชีวอนามัย
สนับสนุน ช่วยเหลือ และร่วมมือกัน
ร่วมปกปูองสิทธิผู้ใช้แรงงาน
แสวงหาแหล่งเงินทุน เพื่อสนับสนุนการทำวิจัย
นำผลการวิจัยไปใช้พัฒนา
บทบาทของพยาบาลอาชีวอนามัย
การบริหารจัดการผู้เจ็บป่วยรายกรณี
จัดเตรียมให้การ ดูแลรักษา ช่วยเหลือติดตามและส่งต่อ ตลอดจนการให้
การ ดูแลเร่งด่วนในเบื้องต้น
การปฏิบัติตามข้อกาหนดกฎหมาย
กฎเกณฑ์ข้อบังคับขององค์กรความปลอดลัยและ
การบริหารจัดการด้านสุขภาพ (OSHA)
การให้คำปรึกษาหารือ และการจัดการดูแลในภาวะวิกฤต
ให้คำปรีกษาหารือแก่คนงานเกี่ยวกับการเจ็บปวยหรือการบาดเจ็บจากการทำงาน
การส่งเสริมสุขภาพและลดความเสี่ยง
ต้องมีทักษะในการสอน
และพัฒนาโครงการ จัดการศึกษาฝึกอบรมด้านสุขภาพให้แก่พนักงาน
การปกป้องจากสิ่งก่ออันตรายในสถานประกอบการของผู้ใช้แรงงาน
พยาบาลอาชีวอนามัยจำเป็นต้องรู้สภาวะสุขภาพของพนักงาน ที่ปฏิบัติงานอยู่ในกระบวนการขั้นตอนผลิตตั้งแต่ต้น จนจบ