Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบบริการสุขภาพและการปฏิรูปการคลัง - Coggle Diagram
ระบบบริการสุขภาพและการปฏิรูปการคลัง
ขอบเขตเนื้อหา
ระบบบริการสุขภาพและระบบสาธารณสุข
การปฏิรูปทางการคลังของระบบบริการสุขภาพ
นโยบายและกฎหมายที่สนับสนุนงานสาธารณสุข
การบริหารงานสาธารณสุขตามแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ
หลักการจัดระบบบริการ
หลักของความเสมอภาค(Equality)
หลักของความเป็ นธรรม(Equity)
หลักของเสรีภาพ(Freedom)
หลักของประโยชน์สูงสุด(Optimality)
ลักษณะของระบบบริการสุขภาพ
การประกันระดับชาติ (Nation health insurance)
การบริการสุขภาพแห่งชาติ (National health services)
การประกนความเจ็บป่วยแบบดั้งเดิม(Traditional sickness insurance)
ระบบผสม (Maxed system)
ระบบสาธารณสุขของประเทศ
การจัดระบบบริการสุขภาพแบบสังคมนิยม(Socialist health system)
การจัดระบบบริการสุขภาพแบบรัฐสวัสดิการ(Welfare Oriented health system)
การจัดบริการสุขภาพแบบตลาดแข่งขัน (Entrepreneurial health system)
ระบบบริการสุขภาพเปรียบเทียบ
สวัสดิการ
ครอบคลุม
สังคมนิยม
เสรีนิยม
การจัดระบบบริการสาธารณสุข
secondary care level
Primary care level
Tertiary care level
Lay care level
การปฏิรูปทางการคลังของระบบบริการสุขภาพประเทศไทย
ระบบส่งเสริมสุขภาพ
ระบบการป้องกันโรคและการควบคุมโรค
แนวคิดการปฏิรูป “ระบบสุขภาพควรมีระบบเชิงรุกเพื่อสร้างสุขภาพดี”
ระบบบริการสุขภาพที่เป็นธรรม
เศรษฐศาสตร์สาธารณสุข
ศาสตร์ ที่ ว่าด้วยการ ประยุกต์แนวคิด หลักการทางเศรษฐศาสตร์มาใช้ใน การวิเคราะห์ จัดกิจกรรม และแกไขปัญหาในด้านการให้บริการสุขภาพ เพื่อการตัดสินเลือกใช้และ จัดสรร ทรัพยากรด้านสุขภาพที่มีอย่างจํากัดให้ เหมาะสมและเกิด ประโยชน์สูงสุดในการยกระดับสุขภาพประชาชนอยางเป็นธรรม
การประยุกต์หลักเศรษฐศาสตร์
ค่าใช้จ่ายด้านสาธารณสุขของประเทศ (Health care expenditure)
ระบบการคลังสาธารณสุข (Health care financing)
(Health Insurance)
พฤติกรรมของผู้ใช้บริการสาธารณสุข (Consumer behavior) และ พฤติกรรมการจัดบริการสุขภาพ (Provider behavior)
ระบบประกันสุขภาพ
เศรษฐศาสตร์กบการวิเคราะห์และประเมินผลเพื่อพัฒนางานบริการ สาธารณสุข (Economic Evaluation)
ประเด็นความไม่เป็นธรรม
ระบบบริการสาธารณสุข เช่น ข้าราชการ /ประกันสังคม/หลักประกนสุขภาพถ้วนหน้า
ผู้ให้บริการและผู้รับบริการ เช่น การเข้าถึง/ทรัพยากร/ศักยภาพ บุคลากรและคุณภาพการดูแล
ทางการแพทย์และสาธารณสุขระหวางเมืองหลวงเมืองใหญ่และชนบท
การกระจายบริการทางสังคมและสิ่งแวดล้อม
ลักษณะพิเศษของเศรษฐศาสตร์สุขภาพ
มีทางเลือกสําหรับผู้บริโภค (Consumer choice) แต่อาจไม่ตรงกับความต้องการของผู้บริโภคทุกรายและการไม่บริโภคอาจมีผลต่อบุคคลอื่น
มีความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์จุลภาค
เป็นสินค้าคุณธรรม
มีประโยชน์สูงสุดกับประชาชนเพื่อบําบัดความจําเป็นด้านสุขอนามัย ให้ได้มากที่สุด (คุ้มค่าระดับประเทศ) Macro Economic efficiency
การประเมิน และการวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์สุขภาพ
บัญชีสุขภาพแห่งชาติ (NHA) คือ แม่แบบของการบริหารเงินทางระบบสุขภาพจาก agency ไปสู่ค่าใช้จ่ายต่างๆ
บัญชีสุขภาพเกี่ยวกับ
จ่ายไปกับบริการประเภทใด เช่น การดูแลสุขภาพของประชาชน,การลงทุน ต่างๆ
จ่ายไปกับสาธารณะ
จ่ายไปเท่าไหร่ทั้งหมดต่อ% GDP
การเงินการคลังสาธารณสุข (Health Financing)
ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ National health expenditure
ค่าใช้จ่ายสุขภาพกว่า1/3 เป็นค่ายา
ครัวเรือนหรือประชาชนเป็นผู้รับภาระมากกว่ารัฐ
ค่าใช้จ่ายถูกจ่ายไปในด้านรักษาพยาบาล/ค่าตรวจทาง lab/ ค่ายามากกวาการป้องกันหรือส่งเสริมสุขภาพ
อัตราการเพิ่มขึ้นของมูลค่ายามากกวา่ใช้จ่ายด้านสุขภาพ
ปัจจัยที่มีผลส่งเสริมให้ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพสูง
ใช้บริการสูงขึ้นจาก
ประชากรมีรายได้มากขึ้น
มีโรคใหม่เพิ่มขึ้นจึงต้องการเทคโนโลยีที่สูงขึ้น
ประชากร+ผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น
มีประกันสุขภาพที่ครอบคลุมมากขึ้น
การเปลี่ยนแปลงสถานการณ์และความชุกของโรค
ปัจจัยที่มีผลส่งเสริมให้ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพสูง
สถาบันครอบครัวมีแนวโน้มอ่อนแอลง
การแกปัญหาบูรณาการน้อย รูปแบบเดียวใช้ทั่วประเทศ
สถาบันศาสนายังไม่สามารถจูงใจให้คนเข้าถึง หลักธรรมอย่างแท้จริง
การเคลื่อนไหวการปฏิรูประบบสุขภาพแห่งชาติ
ปัญหา
การเข้าถึงสถานบริการที่มาตรฐาน
การบริการขาดคุณภาพ
ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพมีราคาแพง
การขาดความต่อเนื่องของการรักษา
ความต้องการของประชาชนเปลี่ยนไป
การขาดแคลนแพทย์เฉพาะทาง
การปฏิรูป
เงื่อนไขทางการเงินที่เหมาะสม
การจูงใจให้มีการพัฒนาระบบบริการระดับต้น
ประชาชนมีสิทธิเลือกลงทะเบียน
แนวคิดสุขภาพแบองค์รวม
ขาดการประสานงานระหว่างสถานพยาบาลรัฐและเอกชน
การปฏิรูปทางการคลังของระบบบริการสุขภาพ
ประเทศแคนนาดา ,ประเทศญี่ปุ่น , ประเทศสิงคโปร์ , ประเทศไทย
ประเทศสหราชอาณาจักร , ประเทศเยอรมัน , ประเทศสหรัฐอเมริกา
นโยบายและกฎหมายที่สนับสนุนงานสาธารณสุข
นโยบายการสร้างเสริมสุขภาพ
นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
ธรรมนูญสุขภาพ
การมีส่วนร่วมของพหุภาคีในมี การแลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่างสมานฉันท์ระหว่างภาคประชาชนองค์กรของรัฐ และ องค์กรเอกชน(NGO)
การบริหารงานสาธารณสุขตามแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ
จุดเน้นด้านสุขภาพในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12
ยุทธศาสตรที่ 1 การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์
ลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ
เพิ่มประสิทธิภาพระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ
ส่งเสริมให้คนไทยมีสุขภาวะที่ดีตลอดช่วงชีวิต
พัฒนาระบบดูแล/สร้างสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมกับสังคมสูงวัย
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การสร้างความเป็ นธรรมและลดความเหลื่อมลํ้าในระบบสุขภาพ
กระจายการให้บริการสาธารณสุขที่มีคุณภาพให้ครอบคลุมและทั่วถึง
สร้างและพัฒนาระบบ บริการปฐมภูมิที่มีแพทย์เวชศาสตร์ ครอบครัวประจําให้ครบทุกแห่ง
จัดบริการด้านสุขภาพให้กบประชากรกลุ่มเป้าหมายฯที่อยูในพื้นที่ห่างไกล
ระบบสุขภาพพอเพียง
มีความรอบคอบและรู้จัก ประมาณอย่างมีเหตุผลในด้านการเงินการคลังเพื่อสุขภาพ ในทุกระดับ
มีการใช้เทคโนโลยี ที่เหมาะสมและใช้อยางรู้เท่าทัน โดยเน้นภูมิปัญญาไทยและการพึ่งตนเอง
มีรากฐานที่เข้มแข็งจากการมีความพอเพียงทางสุขภาพใน ระดับครอบครัวและชุมชน
ระบบสุขภาพพอเพียง
มีระบบภูมิคุ้มกนที่ให้หลักประกันและคุ้มครองสุขภาพ
มีคุณธรรม จริยธรรมคือซื่อตรงไม่โลภมากและรู้จักพอ
บูรณาการด้านการส่งเสริม สุขภาพ ป้องกันโรค รักษาพยาบาลฟื้นฟูสภาพและคุ้มครองผู้บริโภค
สรุปหลักในการพัฒนาระบบสุขภาพพอเพียง
การสร้างระบบภูมิคุ้มกัน
การสร้างทางเลือกที่หลากหลายผสมผสานภูมิปัญญาไทยละสากล
การสร้างระบบบริการสุขภาพและการแพทย์ที่ผู้รับบริการอุ่นใจ ผู้ให้บริการมีความสุข
การสร้างระบบสุขภาพฐานความรู้ด้วยการจัดการความรู้
การสร้างวัฒนธรรมสุขภาพและวิถีชีวิตที่มีความสุขในสังคมแห่งปี สุขภาวะ
สร้างเอกภาพและธรรมภิบาลในการจัดการระบบสุขภาพ