Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อาชีวอนามัย - Coggle Diagram
อาชีวอนามัย
หน้าที่ความรับผิดชอบ และการปฏิบัติการพยาบาล อาชีวอนามัย
ร่วมกำหนดตำแหน่งงาน ให้แก่ลูกจ้าง (Placing)
เฝ้าระวังด้านสุขภาพโดยเฉพาะกลุ่มเสี่ยง
เช่น
หญิง
ตั้งครรภ์
ผู้มีโรคประจำตัว
1.การร่วมประเมินสิ่งแวดล้อมในโรงงาน/การเดินสำรวจ (Walk through Survey)
การประเมินสถานะด้านสุขภาพของคนงาน
ระยะระหว่างการทำงาน/ตรวจประจำปีตรวจพิเศษ
หลังการเจ็บป่วย
ก่อนเข้าทำงาน
และก่อนออกจากงาน
การให้วัคซีน เช่น Hep B
การจัดเตรียมห้องพยาบาลและเวชภัณฑ์
การให้สุขศึกษาเพื่อพัฒนาการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
การให้คำปรึกษา (Counseling)
จัดสร้างคู่มือในการดูแลสุขภาพ
บันทึกรายงาน เก็บรักษา ปรับปรุงแก้ไขให้ทันสมัย
ประสานงานบริหารความเสี่ยง สิ่งคุกคามรวมกับทีมสหสาขา
พัฒนาโครงการสร้างเสริมสุขภาพ
จัดเตรียมอุปกรณ์เครื่องมือป้องกันต่างๆ เช่น แว่นตา ถุงมือ หมวกร้องเท้า
จัดการตรวจคัดกรองในกลุ่มต่างๆ กลุ่มเสี่ยง เช่น การตรวจสมรรถภาพปอด การได้ยิน
บริหารจัดการ ดูแลด้านสวัสดิการ การชดเชยค่า
คุ้มครอง
ประสานงานส่งต่อผู้ป่วยไปยังสถานบริการ
ให้การฟื้นฟูสภาพสมรรถภาพ
และติดตามการปรับตัวของคนงาน
ให้ความร่วมมือในการดำเนินงานป้องกันอุบัติเหตุ และส่งเสริมความปลอดภัย
บทบาทหน้าที่ขงพยาบาลอาชีวอนามัย
ดูแลรักษา ช่วยเหลือเบื้องต้นในกรณีพนักงานบาดเจ็บหรือเจ็บป่วยจากการทำงาน
ฟื้นฟูสุขภาพอนามัยให้พนักงานกลับมาทำงานแบบเดิมได้
ให้คำปรึกษาแก่พนักงานเกี่ยวกับหารเจ็บป่วยหรือบาดเจ็บจากการทำงาน ตลอดจนให้คำปรึกษาการดำเนินชีวิตประจำวัน
สอนและจัดฝึกอบรมด้านสุขภาพให้แก่พนักงน ตลอดจนกระตุ้นให้พนักงานมีความรับผิดชอบต่อการดูแลสุขภาพตนเอง
ปกป้องสุขภาพจากสิ่งก่ออันตรายในสถานประกอบการของพนักงาน โดยร่วมกับเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยมาวิเคราะห์หาแนวทางป้องกันความเสี่ยงทางสุขภาพ
ขอบเขตของการดำเนินงานตามWHO
การปกป้องคุ้มครอง (Protection)
ไม่ให้ทำงานที่เสี่ยงอันตราย
การจัดงาน (Placing)
ให้เหมาะสมกับความสามารถของร่างกาย
การป้องกัน(Prevention)
ไม่ให้เสื่อมโทรมหรือผิดปกติ
การส่งเสริมและดำรงไว้ (Promotion and Maintenance)
การปรับงาน (Adaptation)
ปรับงานให้เหมาะสมกับคน ปรับคนให้เหมาะสมกับงาน
สิ่งคุกคามสุขภาพอนามัย (Health Hazard )
สิ่งคุกคามสุขภาพอนามัยทางกายภาพ (Physiological Health Hazard)
ความดันบรรยากาศที่ไม่ปกติ ได้แก่ การทำงานเครื่องบินหรือเหมืองแร่ใต้ดิน ทำให้ความดันภายในภายนอกไม่ปกติ
การเคลื่อนไหวที่ซ้ำซาก พบในโรงงานอุตสาหกรรมที่ทำงานกับเครื่องจักรต้องเครื่องไหวมือเเละเเขนทำให้เกิดการอักเสบกล้ามเนื้อ
แสงสว่าง ถ้าแสงสว่างไม่ได้มาตรฐานจะเกิดอันตรายต่อตา ทำให้ปวดตา มึนศีรษะ
เสียงดัง ได้แก่ โรงงานอุตหกรรมทั่วไปใช้เครื่องจักรกลที่มีเสียงดัง ทำให้เกิดอันตรายต่อหูโดยตรง
ความร้อน ได้แก่ การทำงานในแหล่งที่มีความร้อนสูงทำให้ต้องปรับอุณหภูมิร่างกายตลอดเวลาทำให้เกิดผลกระทบต่อร่างกาย เช่น เป็นลม
รังสี ได้แก่ รังสีที่แตกตัว เช่น รังสีแกมม่า รังสีอัลตร้าไวโอเลตถ้าได้รับนานๆจะเกิดการทำลายเนื้อเยื่อ
สิ่งคุกคามสุขภาพอนามัยทางเคมี (Chemical Health Hazard)
ก๊าซไนโตรเจน
ไซยาไนต์
เบนซินที่ใช้ในกระบวนการผลิตในโรงงานอุตสาหกรรม
ทำให้เกิดโรคดังนี้
โรคซิลิโคซิสจากฝุ่นซิลิกา
โรค BYssinosis
โรคAsbestosis
สิ่งคุกคามสุขภาพอนามัยทางชีวภาพ (Biological Health Hazard )
พบมากในเกษตรกรรมที่สัมผัสกับเชื้อโรคจากพืชและสัตว์
โรคAntrax จากวัว ควาย
โรคFarmer’s Lung จากเชื้อราในฝุ่นละออง
สิ่งคุกคามสุขภาพอนามัยทางจิตวิทยาสังคม
โรงงานอุตสาหกรรมที่ต้องใช้เครื่องจักรและเทคโนโลยีที่เป็นอัตโนมัติ
ทำงานซ้ำซากจำเจ
ทำให้เกิดโรคดังนี้
โรคความดันโลหิตสูง
โรคกระเพาะอาหาร
โรคเส้นเลือดหัวใจ
โรคจิตประสาท
มิติการดำเนินงาน
ส่งเสริม (Promotion)
วางแผนจัดโปรแกรมสร้างเสริมสุขภาพ
สร้างเสริมพฤติกรรมความปลอดภัยในการทำงาน
ป้องกัน (Prevention)
ประเมินและป้องกันการบาดเจ็บจากการทำงาน
ควบคุมและป้องกันโรคจากการระบาดจากการทำงาน
ประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพ เฝ้าระวังโรคและการเจ็บป่วยจากการทำงาน
รักษา (Curative care)
การรักษาพยาบาลเบื้องต้น
ส่งต่อเพื่อการรักษาพยาบาล
การปฐมพยาบาลจากการบาดเจ็บจากการทำงาน
ฟิ้นฟู (Rehabilitation)
ฟื้นฟูสุขภาพพนังงานที่เป็นโรค
ให้คำแนะนำแหล่งประโยชน์เพื่อการฟื้นฟูสุขภาพ
ป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจากโรคและการบากเจ็บจากการทำงาน
ปัจจัยที่ทำให้เกิดโรคจากการทำงาน
สิ่งที่ทำให้เกิดโรค (Agent)
ความหนักของงาน
ระยะเวลาในการทำงาน
ลักษณะของงาน
คน (Host)
อายุ
เพศ
รูปร่าง
สุขภาพ
สิ่งแวดล้อม (Environment)
ผู้ร่วมงาน
เครื่องจักร
อุปกรณ์ที่ใช้ในการทำงาน
ความร้อน แสงสว่าง ฝุ่นละออง
สารเคมี
โรคและอันตรายจากการประกอบอาชีพ
โรคที่เกิดจากการทำงานโดยตรง
โรคที่เกิดจากสารตะกั่ว
โรคที่เกิดจากแมงกานีส
โรคจากเบนซิน หรือคล้ายคลึงสารพิษ
โรคปอดฝุ่นฝ้าย
โรคปอดฝุ่นหินซิลิก้า
โรคจากกัมมันตรังสี
โรคที่เกิดเกี่ยวเนื่องจากการทำงาน
โรคที่เกี่ยวข้องกับสิ่งกระตุ้นทางกายภาพ
ความเครียดที่เกิดจากความร้อนด้านกายภาพ
โรคจากแรงกดดันบรรยากาศที่ผิดปกติ
ความดังของเสียงทำให้เกิดโรคประสาทหูเสื่อม
การสั่นสะเทือน
กัมมันตภาพรังสีที่ไม่แตกตัว แสงยูวี ไมโครเวฟ แสงอินฟาเรด
โรคที่เกี่ยวข้องกับสารเคมี
โรคพิษแคดเมียม
โรคพิษฟอร์มาลีน
โรคระบบทางเดินหายใจจากการดมสารเคมี
อุบัติเหตุ จากการเจ็บและตายจากเครื่องจักร วัสดุอุปกรณ์ สิ่งของตกใส่กระแทกจากที่สูง
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับงานอาชีวอนามัย
พระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. 2533
ประโยชน์
ทดแทนเจ็บป่วย ทุพลภาพ คลอดบุตร ชราภาพ ตาย ว่างงาน
พ้นสภาพ
ตาย ไม่ส่งเงิน
ติดต่อกัน 3 เดือน ลาออก
ผู้ประกันตน
15-60 ปีส่ง 5% ของรายได้
พระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. 2537
"เงินทดแทน
เงินที่จ่ายเป็นค่าทดแทน ค่ารักษา พยาบาล ค่าฟื้นฟูสมรรถภาพในการทำงาน และค่าทำศพ
ค่ารักษาพยาบาลจ่ายจริง
ไม่เกิน 35,000 จ่ายเพิ่มตามความเห็นแพทย์ไม่เกิน 50,000 ฟื้นฟูไม่เกิน 20,000 ผ่าตัดเพื่อฟื้นฟูไม่เกิน 20,000
ค่าทดแทนการขาดรายได้
(กรณีหยุดเกิน 3 วันขึ้นไป) 60% รายได้ ไม่ต่ำกว่า 2,000 ไม่เกิน 9,000
ทุพพลภาพ
ค่าทดแทนร้อยละ 60 ของค่าจ้างรายเดือน แต่ไม่เกิน 15 ปี สูญเสียอวัยวะ ไม่เกิน 10 ปี
ตาย
ชดเชย 100 เท่าของค่าจ้างขั้นต่ำรายวันและสิทธิได้รับค่าทดแทนร้อยละ 60 ของค่าจ้างรายเดือน เป็นเวลาไม่เกิน 8 ปี
เรียกร้องค่าทดแทนได้ภายใน 2 ปี
**ยกเว้น: กรณีเสพของมึนเมา ไม่สามารถครองสติได้ และจงใจทำให้ตนเองหรือยินยอมให้ผู้อื่นทำให้ตนเกิดอันตราย
1.กฎหมายว่าด้วยการจ้างงาน พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน(ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2560
ห้ามจ้างงานเด็กต่ำกว่า 15 ปี
จ้าง 15 ปีขึ้นไปได้ แต่ต้องแจ้ง
อุโมงค์ นั่งร้านสูงเกิน 10 m. เครื่องเจาะกระแทก
งานดูแลPt โรคติดต่อ ห้ามทำงานที่สถานพนัน สถานบริการ โรงฆ่าสัตว์
ห้ามให้ทำงานในห้องเย็น/ ร้อนมากกว่า 45 องศาร้อน
และไม่ให้ทำงาน 22pm.-6 am.
18 ปีไม่จัดเป็นแรงงานเด็ก
ห้ามแรงงานหญิงทำงานในเหมืองแร่ ก่อสร้างใต้น้ำ
ใต้ดิน ในถ้ำ และนั่งร้านสูงเกิน 10 m.
งานยก แบก หาม หาบ ทูน ลาก หรือเข็นของหนักเกิน
15 kg.
-พนักงานหญิงมีครรภ์ไม่ให้ทำงาน 24-6 am. เป็นต้น
หลักการป้องกันและควบคุมอันตราย
การควบคุมและป้องกันอันตรายจากสิ่งแวดล้อม
(Prevention and Control of Environment Hazard)
การจัดหาวัสดุ หรือ สารเคมีอื่นทดแทนที่มีพิษน้อยกว่า
การใช้ระบบปิด เช่น การใช้ฉากดูดเสียงกั้น ทำห้องเก็บเสียง
การระบายอากาศทั่วๆไปให้เจือจาง เช่น เปิดประตูเพื่อระบายอากาศ หรือการใช้พัดลมดูดอากาศ
การจัดเก็บทำความสะอาดในสถานที่ทำงาน เพื่อลดอันตรายจากฝุ่น หรือสารพิษต่างๆ ทั่วไปที่หก หรือฟุ้งกระจายบนพื้น
การควบคุมและป้องกันการบาดเจ็บ
(Prevention and Control of Occupation Injury)
ออกกฎโรงงาน (Regulation) ให้มาตรฐานการทำงาน แนวทางการปฏิบัติ การดำเนินงานที่ถูกต้องปลอดภัยในโรงงาน
การจัดทำมาตรฐาน (Standardization) การทำงาน
การตรวจสอบ (Inspection) เพื่อติดตามผลการปฏิบัติงาน ของคนงานให้สอดคล้องกับกฎโรงงาน
การให้ความรู้ (Education) เกี่ยวกับความปลอดภัยในการทำงาน
การฝึกอบรม (Training) ให้คนงานทุกคนมีความรู้ตามลักษณะงานที่ทำ
การทำประกันภัย (Insurance) เช่น การให้รางวัลชมเชยแก่คนงานที่ทำงานดีเด่น และไม่เกิดอุบัติเหตุ
การเชิญชวน (Persuasion) ด้วยการใช้สื่อประชาสัมพันธ์ต่างๆ เพื่อสร้างความเคยชิน และนิสัยการทำงาน
การทำวิจัย (Research) ต่างๆ
ความปลอดภัยในการทำงาน
สุขภาพคนทำงาน
สาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุ
หมายถึง
การดูแลสุขภาพและความปลอดภัยของผู้ประกอบอาชีพ