Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร, ด้านเศรษฐกิจ - Coggle Diagram
ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร
ด้านปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาสารัตถนิยม
เป็นส่วนหนึ่งของสังคม
ถ่ายทอด อนุรักษ์สิ่งดีงาม วัฒนธรรม
เนื้อหาแยกวิชา
ยึดครูเป็นศูนย์กลาง (ครูบอกเล่า บรรยาย )
เน้นประเมินผลด้านความรู้
ปรัชญานิรันตรนิยม
เป็นสิ่งดีงาม คงทนถาวร
เนื้อหาวิชา ช่วยพัฒนาจิตใจ
เตรียมตัวดำรงชีวิต
จัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนทุกคนเหมือนกัน
วิธีสอน : อ่าน เขียน ท่องจำ คำนวณ ถาม - ตอบ
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
การศึกษาเป็นเครื่องถ่ายทอดวัฒนธรรม
พัฒนาผู้เรียนทุกด้าน
ปฏิบัติจริง - สัมพันธ์กับสภาพจริง
ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ผู้เรียนได้ประสบการณ์ตรง ตามความสนใจ
วิธีสอน : อภิปรายกลุ่ม
แก้ปัญหารายบุคคล
ปรัชญาอัตถิภาวนิยม
คน สภาพแวดล้อมเปลี่ยนแปลงได้
ทุกคนใช้ชีวิตด้วยตนเองได้
เน้นปรับตัว เผชิญปัญหาต่างๆ อย่างมีความสุข
มีอิสระในการเลือกเรียน
เน้นพัฒนาความสามารถ + พัฒนาการของผู้เรียน
ครู คือ ผู้ชี้แนะแนวทาง
ปรัชญาปฏิรูปนิยม
การศึกษาเป็นเครื่องมือเปลี่ยนสังคม
แก้ปัญหาสังคม + สร้างสังคมให้ดี
ผู้เรียนหาประสบการณ์ด้วยตนเอง
สำรวจความสนใจ ความต้องการของตนเอง
วิธีสอน : อภิปราย แสดงความคิดเห็น
จัดตารางสอนแบบยืดหยุ่น
ประเมินพัฒนาการทุกด้าน และทัศกคติ
กำหนดจุดหมาย หลักการ โครงสร้าง
กำหนดแนวปฏิบัติในการใช้หลักสูตร
ปรัชญาการศึกษา
จัดการศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ พัฒนาผู้เรียนให้สมบูรณ์ และสมดุล
ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
พัฒนาอย่างรวดเร็ว พัฒนาแบบไม่หยุดยั้ง
ยุคแห่งสารสนเทศ เรียนรู้ได้เท่าทัน
หลักสูตร
ทันสมัย ทันต่อการเปลี่ยนแปลงและ และความเจริญก้าวหน้าของวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีอุตสาหกรรม
พัฒนาคนให้ใช้เครื่องจักรเทคและโนโลยีได้อย่างปลอดภัยมีประสิทธิภาพ
การนำใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาใช้ในการศึกษา
วิธีการสอนอุปกรณ์ เทคโนโลยี สื่อการสอนที่ทันสมัย
มีความรู้ ความเข้าใจและนำไปใช้ประโยชน์
เรียนรู้และเท่าทันการเปลี่ยนแปลง
เรียนรู้ด้วยตนเอง และเรียนรู้ได้กว้างขวาง
ข้อมูลในการพัฒนาหลักสูตร
พัฒนาคนให้มีความพร้อม
พัฒนาคนให้เท่ากัน
การจัดการศึกษา / การจัดการเรียนรู้
ด้านจิตวิทยา
จิตวิทยาการเรียนรู้กลุ่มมนุษย์นิยม
Abraham Maslow
ความต้ิองการพื้นบานของมนุษย์
1.ความต้องการทางร่างกาย
2.ความต้องการความปลอดภัย/ความมั่นคง
3.ความต้องการความรักและความเป็นเจ้าของ
4.ความต้องการได้รับความยกย่องนับถือ
5.ความต้องการด้านสุนทรียภาพ
6.ความต้องการความเข้าใจ ความเป็นจริงเกี่ยวกับตนเอง
Carl R. Rogers
ผู้เรียนมีแรงจูงใจ มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้ สร้างบรรยากาศ สิ่งแวดล้อมที่เอื้ออำนวย จะเกิดการเรียนรู้ขึ้นอย่างมีประสิทธิภาพ
บรรยากาศที่ส่งเสริมการเรียนรู้
1.เป็นจริงตามธรรมชาติ
2.การยอมรับและให้เกียรติผู้เรียน ยอมรับ ไว้วางใจ
เข้าใจ เป็นกลาง ไม่มีอคติ
จิตวิทยาการเรียนรู้กลุ่มความรู้ ความคิดนิยม
กลุ่มเกสตอล์ท
• การรับรู้และการเรียนรู้เป็นประสบการณ์ มีแบบแผน เค้าโครง รูปร่าง
• ส่วนรวมสำคัญกว่าแต่ละส่วนมารวมกัน
กฎแห่งการเรียนรู้
1..กฎแห่งความคล้ายคลึง
2.กฎแห่งความใกล้เคียง
3.กฎแห่งความใกล้ชิด
4.กฎแห่วความต่อเนื่อง
John Dewey
• การเรียนรู้เกิดจากการลงมือปฏิบัติและฝึกฝนด้วยตนเอง
• ความเจริญงอกงามจากสติปัญญา จากประสบการณ์ของตนเอง ได้รับความคิดใหม่และประยุกต์ใช้ได้กว้างขวางขึ้น
Robert M. Gagne
• การเรียนรู้ของมนุษย์อาศัยการจัดทำข้อมูลของสมองเป็นพื้นฐาน
• การเรียนรู้ของมนุษย์ มี 5 ด้าน
ด้านสติปัญญา
ด้านความคิด
ด้านคำพูด
ด้านทักษะ
ด้านเจตคติ
จิตวิทยาการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค
Edward L. Thorndike
กฎแห่งการเรียนรู้
1.กฎแห่งความพร้อม
2.กฎแห่งการฝึกหัด
3.กฎแห่งผล
Edwin R. Guthrie
การเรียนรู้เกิดจากสิ่งเร้า > การตอบสนองที่เกิดไปด้วยกัน > การวางเงื่อนไขแบบติดกัน > ไม่มีการให้รางวัล การลงโทษ หรือการฝึกปฏิบัติ
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบปฏิบัติการ
B. F. Skinner
เรียนรู้จากสิ่งแวดล้อมใหม่และสิ่งแวดล้อมที่ซับซ้อน เน้นพฤติกรรมที่สังเกตได้ เกิดจากความเต็มใจ > แสดงพฤติกรรมในสถานการณ์ใหม่ > ที่เป้นการตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อม ประสบการณ์ และมีการเสริมแรง ให้พฤติกรรมนั้นเข้มแข็งและอดทน
กำหนดจุดมุ่งหมายหลักสูตร
คาบเรียน
เกณฑ์อายุ / มาตราฐานการเข้าเรียน
การจัดเนื้อหา และประสบการณ์
ด้านสังคมและวัฒนธรรม
โครงสร้างของสังคม
สังคมชนบท / สังคมเกษตรกรรม
สังคมเมือง / สังคมอุตสาหกรรม ในปัจจุบัน
แนวโน้มโครงสร้างสังคมในอนาคต
ค่านิยมในสังคม
ค่านิยม สิ่งที่คนในสังคมเห็นว่ามีคุณค่า ยอมรับปรารถนาให้มี
การศึกษาทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงค่านิยมในสังคม
ค่านิยมสังคมไทยในปัจจุบัน
ค่านิยมที่เป็นอุปสรรคต่อความเจริญก้าวหน้าของสังคม
ค่านิยมที่ควรสร้างและปลูกฝัง
ธรรมชาติของคนในสังคม
ธรรมชาติของคนไทย > อนาคต
ยึดมั่นในตัวบุคคลมากกว่าหลักการและเหตุผล
ยกย่องบุคคลที่มีความรู้ / การศึกษาสูง
เคารพและคล้อยตามผู้มีวัยวุฒิสูง
ยกย่องผู้มีเงิน และผู้มีอำนาจ
เชื่อโชคลางทางไสยศาสตร์
นิยมเล่นพรรคเล่นพวก
เฉื่อยชาไม่กระตือรือร้น
การชี้นำสังคมในอนาคต
ตั้งรับการเปลี่ยนแปลง
ความต้องการและปัญหาสังคม
พัฒนาสังคมตามกระแสความเปลี่ยนแปลง
แนวโน้มของสังคมโลกอนาคต
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ตอบสนองความต้องการของสังคม
ความเป็นจริงในสังคม
เปลี่ยนแปลงประเพณีวัฒนธรรม ค่านิยม
แก้ไขปัญหา ปรับปรุง พัฒนาสังคม
ด้านธรรมชาติผู้เรียน
พัฒนาการทางสติปัญญาของผู้เรียน
พัฒนาการทางสังคมของผู้เรียน
ขั้นที่ 1 ระยะทารก 0-2 ปี
ความไว้วางใจ - ไม่ไว้วางใจผู้อื่น
ขั้นที่ 2 ระยะเริ่มต้น อายุ 2-3 ปี
ความเป็นตัวของตัวเอง - ความไม่มั่นใจและสงสัย
ขั้นที่ 3 ระยะก่อนไปโรงเรียน 3-6 ปี
ความคิดริเริ่ม - ความรู้สึกผิด
ขั้นที่ 4 ระยะเข้าโรงเรียน 6-12 ปี
ความสามารถ - ความล้มเหลว
ขั้นที่ 5 ระยะวัยรุ่น 12-20 ปี
ความมีเอกลักษณ์ - ความสับสนในบทบาท
ขั้นที่ 6 ระยะต้นของวัยผู้ใหญ่ 20-40 ปี
ความรู้สึกสนิทสนม - ความโดดเดี่ยว
ขั้นที่ 7 ระยะผู้ใหญ่ 40-60 ปี
ความกระฉับกระเฉงหรือความเฉยเมย
ขั้นที่ 8 ระยะวัยสูงอายุ 60 ปีขึ้นไป
ความภาคภูมิใจ - ความสิ้นหวังท้อแท้
พัฒนาการทางจริยธรรมของผู้เรียน
ระดับที่ 1 ระดับก่อนกฎเกณฑ์สังคม
ขั้นที่ 1 ระดับจริยธรรมของผู้อื่น
ขั้นที่ 2 ระดับจริยธรรมของผู้อื่น
ระดับจริยธรรมตามกฎเกณฑ์สังคม
ขั้นที่ 3 การยอมรับของกลุ่มหรือสังคม
ขั้นที่ 4 กฎและระเบียบของสังคม
ระดับจริยธรรมอย่างมีวิจารณญาณ
ขั้นที่ 5 สัญญาสังคมหรือการทำตามคำมั่นสัญญา
ขั้นที่ 6 หลักการคุณธรรมสากล
ธรรมชาติการเรียนรู้ของผู้เรียน
แบบคิดอเนกนัย
ใช้ประสบการณ์ ความรู้สึก
รับรู้และจินตนาการ
มองภาพรวม
ระดมสมองอภิปราย แลกเปลี่ยน
แบบดูดซึม
ไตร่ตรองเข้า ใจประสบการณ์
ใช้เหตุผล
สรุปหลักการ/กฎเกณฑ์ (นามธรรม)
ไม่คำนึงถึงการประยุกต์ใช้
แบบคิดเอกนัย
ใช้เหตุผลความคิด
ทดลอง/ปฏิบัติ
สรุปวิธีการที่ดีที่สุด
นำไปใช้แก้ปัญหา
มีความเชี่ยวชาญ
แบบปรับปรุง
ทดลอง/ปฏิบัติ
แสวงหาประสบการณ์
การปรับตัว
ลองผิดลองถูก
ทำงานร่วมกับผู้อื่น
กำหนดเนื้อหาสาระ
กิจกรรมการเรียนการสอน
สอดคล้องกับพัฒนาการ : ร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม
ผู้เรียนจะบรรลุผลตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตร
ด้านการเมือง การปกครอง
ระบบการเมืองการปกครอง
สร้างความเข้าใจให้กับประชาชน
เนื้อหาสาระ
ประสบการณ์เรียนรู้
การปลูกฝัง
นโยบายของรัฐ
นโยบายของรัฐ
การศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของระบบสังคม
การดำเนินงานระบบต่าง ๆ ต่อเนื่องและสอดคล้องกัน
รากฐานของประชาธิปไตย
สิทธิ หน้าที่ของประชาชนต่อรัฐ
บทบาทหน้าที่ ของประชาชนด้านการเมืองการปกครอง
ความรู้ ความเข้าใจ และพฤติกรรมประชาธิปไตย
ความรับผิดชอบต่อบ้านเมือง
ความสัมพันธ์ของการเมืองกับการปกครองในชีวิตประจำวัน
หน้าที่สำคัญของการศึกษา
สอดคล้องกับการเมืองการปกครอง
เนื้อหาสาระและประสบการณ์
การสร้างสมาชิกที่ดีในสังคม
ปลูกฝังและสร้างความเข้าใจในสังคม
ด้านเศรษฐกิจ
การเตรียมกำลังคน
เพียงพอ เหมาะสม
สอดคล้องกับความต้องการ
ระดับกรรมกร,ระดับช่างฝีมือ,ระดับชำนาญการ
การสูญเปล่าทางการศึกษา
ลดปัญหาการว่างาน
แนวโน้มเศรษฐกิจของประเทศ
การพัฒนาคุณลักษณะของบุคคลในระบบเศรษฐกิจ
รายได้ต่ำ —> เศรษฐกิจระบบเปิด
ซื้อสินค้าฟุ่มเฟือย / เพิ่มรายจ่าย
นิยมสินค้าราคาสูง
แก้ไข / พัฒนาคุณลักษณะคนในระบบเศรษฐกิจ
ขยันหมั่นเพียร อดออม มีสติ คิดสร้างสรรค์
เสริมความสามารถในการผลิตงาน / อาชีพ
การพัฒนาอาชีพ
เกษตรกร : ชนบท
อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม การบริหาร : ชุมชนเมือง
พัฒนาอาชีพตามศักยภาพ
สอดคล้องกับท้องถิ่น
สอดคล้องกับความต้องการของประเทศ
การใช้ทรัพยากรณ์
มีอยู่อย่างจำกัด
เกิดประโยชน์ / รายได้สูงสุด และ คุ้มค่า
กิจกรรมทางเศรษฐกิจครบวงจร
ใช้ทรัพยากรในท้องถิ่น
การลงทุนทางการศึกษา
งบประมาณของรัฐ
ผลตอบแทน : กำลังคน
ปริมาณและคุณภาพ
การลงทุนที่สูญเปล่า
การขยายตัวทางอุตสาหกรรม
แนวโน้มและทิศทาง
ผลิตบัณฑิตเข้าสู่ภาคอุตสาหกรรม
สอดคล้องและสมดุลกับตลาดแรงงาน
จุดหมาย โครงสร้างของหลักสูตร
หลักสูตรเพื่อพัฒนาอาชีพ
กิจกรามการเรียนรู้
การใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุด
ตามศักยภาพและท้องถิ่น