Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กลุ่มแนวคิดทางจิตวิทยากับการจัดการศึกษา, นายกฤษดา หงษ์วงค์ รหัสนักศึกษา…
กลุ่มแนวคิดทางจิตวิทยากับการจัดการศึกษา
แนวคิดของกลุ่มหน้าที่ของจิต(Functionalism)
สรุปแนวคิด
การกระทำหรือการแสดงออกทั้งหมดขึ้นอยู่หรือเกี่ยวข้องกับประสบการณ์ของแต่ละคน (The experience individual)เสมอ พฤติกรรมของคนจึงแตกต่างกัน
การกระทำทั้งหมด (The total activities) หรือการแสดงออกของคนเรา เป็นการแสดงออกเพื่อปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม
วิธีการศึกษา
มุ่งศึกษาวิธีการเรียนรู้ การจูงใจ การแก้ปัญหา ตลอดจนความจ าของคน เพื่อปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อม โดยใช้วิธีการสังเกตและบันทึกพฤติกรรมในสถานการณ์จริง
การนำไปใช้
วิธีสอนต้องให้ผู้เรียนได้ประสบการณ์มากที่สุด การจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นการปฏิบัติจริง เผชิญสถานการณ์จริงและการแก้ปัญหา เพื่อให้เกิดการเรียนรู้จากการกระท า
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับกลุ่มแนวคิดทางจิตวิทยา
ความหมาย
เป็นการจัดระเบียบแนวความคิดทางจิตวิทยาเข้าเป็นหมวดหมู่ เพื่อความสะดวกในการทำความเข้าใจในทฤษฎีต่างๆ หรือนำมาใช้ในการรวบรวมความรู้ทางจิตวิทยา
แนวคิดของกลุ่มจิตวิเคราะห์(Psychoanalysis)
ทฤษฎีจิตวิเคราะห์
จิตสำนึก (Conscious Mind)
จิตใต้สำนึกหรือจิตกึ่งสำนึกหรือจิตก่อนสำนึก (Subconscious Mind/Preconscious)
จิตไร้สำนึก (Unconscious Mind)
วิธีศึกษา
มักใช้ “วิธีความสัมพันธ์อิสระหรือวิธีระบายความรู้สึกภายในอย่างอิสระ (Free Association)” โดยให้ผู้ป่วยนอนบนโซฟาในอิริยาบถที่สบาย แล้วเล่าเรื่องทุกอย่างที่ผ่านมาในห้วงส านึกในขณะนั้นไปเรื่อยๆ
การนำไปใช้
จะเน้นที่เรื่องการเก็บกด (Repression)ซึ่งสะสมมาตั้งแต่เกิด ซึ่งเป็นอุปสรรคต่อการเรียนต้องรีบระบายความเก็บกดให้เร็ว ดังนั้นผู้สอนต้องสอบถามและดูแลผู้เรียนเอาใจใส่ใกล้ชิดถึงปัญหาต่างๆ และช่วยแก้ไขปัญหาร่วมกัน
แนวคิดของกลุ่มพฤติกรรมนิยม(Behaviorism)
วิธีการศึกษา
มุ่งศึกษาเฉพาะพฤติกรรมที่สามารถสังเกตเห็นหรือวัดได้ โดยใช้วิธีการทดลอง (Experimental) ด้วยการวางเงื่อนไข (Condition) โดยบันทึกเฉพาะปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นจริงเท่านั้น ไม่บันทึกความรู้สึกลงไป
การนำไปใช้
ธีการฝึกฝนที่เหมาะสมในการฝึกเด็กให้มีพฤติกรรมตามที่เราปรารถนา สามารถท าได้โดยวางเงื่อนไขแบบเด็กให้เกิดพฤติกรรม อันเป็นผลมากจากการเรียนรู้มากกว่าสัญชาตญาณหรือคุณสมบัติอื่นๆ ที่ติดตัวมาแต่กำเนิด
แนวคิดของกลุ่มโครงสร้างของจิต(Structuralism)
จิตมนุษย์มีโครงสร้างที่ประกอบด้วยลักษณะที่เป็นหน่วยย่อยเรียกว่า “จิตธาตุ (Mental element)” ซึ่งแยกเป็น 3 ส่วน คือ
การรับสัมผัส (Sensation)
ความรู้สึก (Feeling)
จินตนาการหรือมโนภาพ (Image)
วิธีการศึกษา
การใช้สิ่งเร้าเป็นตัวกระตุ้น เช่น ระดับเสียงสูงและต่ำ กลิ่น อุณหภูมิ เป็นต้น ผู้ถูกทดลองจะเล่ารายละเอียดความรู้สึกประสาทสัมผัสและมโนภาพจากสิ่งที่ได้รับ
การนำแนวคิดมาปรับใช้กับการจัดการศึกษา
สามารถนำมาใช้ในการจัดการศึกษา กล่าวคือ ถ้าต้องการฝึกจิตส่วนใดให้มีความสามารถ ต้องฝึกเรื่องนั้นๆ โดยเฉพาะจนเกิดความช านาญ เช่น การฝึกทักษะด้านความจ า บุคคลก็ต้องฝึกท่องจ า
แนวคิดของกลุ่มมนุษยนิยม
วิธีการศึกษา
ให้อิสระในการเรียนรู้ เพราะเชื่อว่ามนุษย์มีธรรมชาติแห่งการกระตือรือร้นที่จะเรียนรู้และมีแนวความคิดของตนเอง มีสิทธิที่จะยอมรับหรือปฏิเสธในสิ่งที่ตนเองไม่เห็นด้วย
การนำไปใช้
การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ให้ความส าคัญกับความรู้สึกนึกคิด ค่านิยม การแสดงออก ตลอดจนเลือกเรียนตามความสนใจ ผู้สอนท าหน้าที่ช่วยเหลือให้ก าลังใจและอ านวยความสะดวก ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามสภาพจริงโดยค านึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล
แนวคิดของกลุ่มจิตวิทยาเกสตัสท์(Gestalt)
วิธีการศึกษา
มุ่งศึกษาพฤติกรรมส่วนรวมเป็นหลัก แล้วนำผลมาอธิบายส่วนย่อย (The whole is greater than the part)โดยใช้วิธีการสังเกตจากการทดลองที่ปรากฏออกมาในรูปของพฤติกรรม
การนำไปใช้
ครูสามารถเสนอเนื้อหาเพียงบางส่วนได้ หากผู้เรียนสามารถใช้ประสบการณ์เดิมมาเติมให้สมบูรณ์ การเสนอภาพรวมเพื่อให้ผู้เรียนเห็นและเข้าใจก่อนการเสนอส่วนย่อยจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ดี
แนวคิด
การรับรู้ (Perception)
การหยั่งเห็น (Insight)
นายกฤษดา หงษ์วงค์ รหัสนักศึกษา 6281147033