Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
CASE STUDY SLE WITH NEPHROTIC SYNDROME - Coggle Diagram
CASE STUDY SLE WITH NEPHROTIC SYNDROME
nephrotic syndrome
ความหมาย
กลุ่มอาการโปรตีนรั่วในปัสสาวะ เป็นกลุ่มอาการโรคไตที่ทำให้ร่างกายขับโปรตีนออกทางปัสสาวะมาก
สาเหตุ
ความผิดปกติที่ผนังหลอดเลือดในไตทำให้ไม่สามารถกรองโปรตีนหรือไข่ขาวได้ จึงมีไข่ขาวรั่วออกทางปัสสาวะจำนวนมาก
พยาธิสภาพ
โปรตีนรั่วออกไปในปัสสาวะ
ทำให้
ร่างกายไม่สามารถสังเคราะห์ Albumin ได้เร็วพอ
เกิด
ภาวะ Albumin ในเลือดตํ่าลง
ส่งผลให้
แรงดึงดูดนํ้าในพลาสมาตํ่าลง
1 more item...
อาการของผู้ป่วย
นอนราบไม่ได้เป็นบางครั้ง
ปัสสาวะเป็นฟอง
หายใจเหนื่อย
ความดันโลหิต 192/120 mmHg.
บวมตามร่างกาย กดบุ๋ม 2+
สาเหตุที่ส่งผลให้เกิด Nephrotic Syndrome ในผู้ป่วย
ปัจจัยทางตรง
ป่วยเป็นโรค SLE (Systemic lupus erythematosus)
พยาธิสภาพของโรค SLE ที่ส่งผลให้เกิดNephrotic Syndrome
ปัจจัยทางอ้อม
รับประทานยาที่ใช้ในการรักษาโรค SLE ซึ่งมีผลระยะยาว
Prednisolone
มีผลต่อระบบของเหลวและอิเล็กโทรไลต์
คอร์ติโคสเตอรอยด์มีฤทธิ์ ๒ อย่างคือ มิเนอราโลคอร์ติคอยด์ และกลูโคคอร์ติคอยด์ โดยมิเนอรา โลคอร์ติคอยด์ทำให้มีการคั่งของโซเดียม และน้ำ ทำให้มีอาการบวมและความดันโลหิตสูงตามมา นอกจากนี้ เพรดนิโซโลนทำให้ระดับความเข้มข้นของโพแทสเซียมในเลือดต่ำ ภาวะร่างกายเป็นด่างร่วมกับระดับโพแทสเซียมในเลือดต่ำ (hypokalemic alkalosis)และหากรุนแรงหรือผู้ป่วยที่มีความไวอาจทำให้หัวใจล้มเหลวเหตุเลือดคั่ง (congestive heart failure) ได้สาเหตุของโพแทสเซียมในเลือดต่ำจากเพรดนิโซโลนเกิดจากการที่มีโซเดียมคั่ง ทำให้ร่างกายชดเชยโดยเพิ่มการขับโพแทสเซียมออกทางไตรวมทั้งเพรดนิโซโลนทำให้เกิดภาวะความเข้มข้นของแคลเซียมต่ำ(hypocalcemia) ได้ด้วย
พฤติกรรมการรับประทานอาหารที่มีรสชาติเค็ม โซเดียมมาก
การวินิจฉัย
ตรวจร่างกาย
ผิวหนังตึง บวมทั่วร่างกายโดยเฉพาะแขนและขา กดบุ๋ม 2+ ความดันโลหิต 192/120 mmHg.
ตรวจทางห้องปฎิบัติการ
CBC
ค่าผิดปกติคือ RBC, Hb, Hct, MCV ต่ำกว่าปกติ แสดงถึงภาวะโลหิตจาง ค่าWBC, Neutrophil สูง แสดงถึงการอักเสบติดเชื้อ
Renal function test
ค่าผิดปกติ BUN, Cretinine มีค่าสูงกว่าเกณฑ์ GFR ต่ำกว่าเกณฑ์
Electrolyte
ค่าผิดปกติ คือ Na, Co2 ต่ำกว่าเกณฑ์ K สูงกว่าเกณฑ์
Liver function test
Albumin ต่ำกว่าเกณฑ์
Random Urine
Protein
3+
Blood
3+
pH
5.5
Leukocyte
2+
Specific Gravity
1.009
RBC
30-50/HPF
Urine Creatinine
106.9
WBC
50-100/HPF
Squamous Epithelial
5-10/HPF
ภาวะแทรกซ้อน
หลังจากผู้ป่วยเข้ารับการรักษา Nephrotic Syndrome แพทย์ได้ทำการวินิจฉัยเพิ่มเติมว่าผู้ป่วยมีภาวะ Rapidly progressive glomerulonephritis (RPGN) ร่วมด้วย
RPGN
ภาวะที่มี การทำงานของไตลดลงอย่างรวดเร็ว
ความดันเลือดสูง บวม ปัสสาวะออกน้อย และตรวจพลักษณะของglomerulonephritis ได้แก่active urine sediment (dysmorphic RBC หรือ RBC cast), proteinuria
ไตวายเฉียบพลัน
พยาธิสภาพของ Nephrotic Syndrome ที่ส่งผลให้เกิดภาวะ (RPGN)
ข้อมูลสนับสนุน
บวมตามร่างกาย กดบุ๋ม2+
ความดันโลหิต 192/120 mmHg.
ปัสสาวะออกน้อย ลักษณะเป็นฟอง
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Renal function test
BUN
56 mg/dL
1 more item...
Creatinine
5.03 mg/dL
1 more item...
eGFR
11(ml/min/1.73m2)
1 more item...
Random Urine
Protein
3+
Blood
3+
pH
5.5
Leukocyte
2+
Specific Gravity
1.009
RBC
30-50/HPF
Urine Creatinine
106.9
WBC
50-100/HPF
Squamous Epithelial
5-10/HPF
สาเหตุ
มีโรคประจำตัวคือ SLE และ ภาวะ Nephrotic Syndrome ร่วม
nephrotic syndrome
สาเหตุ
กลุ่มอาการอะมีลอยโดซิส (Amyloidosis)
โรคพุ่มพวง หรือโรคแพ้ภูมิตัวเอง (SLE) เพราะโรคนี้อาจส่งผลกระทบต่อไตอย่างร้ายแรงได้
เยื่อบุผิวภายในกรวยไตหนาตัวขึ้น ซึ่งอาจมีสาเหตุมาจากบางโรค เช่น โรคไวรัสตับอักเสบ บี โรคมาลาเรีย และโรคมะเร็ง เป็นต้น
โรคไตจากเบาหวาน เพราะโรคเบาหวานอาจทำให้ไตถูกทำลาย ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อกรวยไตได้
การกรองไตผิดปกติ จึงส่งผลให้ไตทำงานผิดปกติ
การใช้ยาบางชนิด เช่น ยาแก้อักเสบ และยาต้านการติดเชื้อ เป็นต้น
กรวยไตเป็นแผล ซึ่งอาจมีสาเหตุจากโรคบางชนิด ความบกพร่องทางพันธุกรรม
อาการ
อาการทางติดเชื้อ เช่น เป็นฝีพุพองตามบริเวณผิวหนังและที่อื่นๆ
. อาการเมื่ออาหารคลื่นไส้ อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย
อาการซีด
ในสตรีพบว่าประจำเตือนขาดหายไป
อาการบวมทั่วร่างกาย
ความดันโลหิตอาจสูงหรือต่ำได้
การรักษา
รักษาตัวโรคที่เป็นสาเหตุของ Nephrotic syndrome
รักษาอาการอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับ Nephrotic syndrome ได้แก่ อาการบวม โปรตีนรั่วในปัสสาวะ ด้วยยาตามอาการ
ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะขาดสารอาหาร
ภาวะไตวายเฉียบพลัน
ภาวะลิ่มเลือดในหลอดเลือดอุดตัน
โรคไตเรื้อรัง
ระดับไขมันคอเลสเตอรอลและไตรกลีเซอไรด์ในเลือดเพิ่มสูงขึ้น
เกิดการติดเชื้อ
ความดันโลหิตสูง