Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 9 ผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บ
image - Coggle Diagram
บทที่ 9 ผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บ
Concept of trauma care
Pre-hospital Care หมายถึง การดูแลผู้ป่วยฉุกเฉินก่อนส่งโรงพยาบาลที่ต้อง การรักษาทันทีและปฐมพยาบาลเบื้องตนที่มุ่งใหเกิดผลลัพธ์การรักษาที่ดีที่สุด
ER (In-Hospital Care) หมายถึง การดูแลผู้ป่วยที่มารับบริการ ณ ห้องอุบัติเหตุฉุกเฉิน(Emergency Room) ของโรงพยาบาล โดยเริ่มตั้งแตการคัดแยกผู้ปวยเขารับการรักษาอย่างเหมาะสม (Triage) การดูแลผูปวยในภาวะวิกฤต (Critical Care)
-
-
-
การคัดแยกในที่เกิดเหตุ (Prehospital triage) จะแยกตามเป้าหมายว่าใคร ควรได้รับการจัดส่งความช่วยเหลือทางการแพทย์ตามลาดับความรีบด่วนในแง่การรักษาพยาบาล ระดับของการคัดแยกผู้ป่วยที่จุดเกิดเหตุจะแยกได้ 5 ระดับ
การคัดแยกผู้ป่วย ณ จุดเกิดเหตุ (Prehospital triage) ที่ไม่ใช่สถานการณ์อุบัติภัยหมู่หรือสาธารณภัย วัตถุประสงค์ในระยะแรก เพื่อเป็นเกณฑ์เลือกโรงพยาบาลที่จะนำส่งให้เหมาะสมกับระดับการบาดเจ็บของผู้ป่วย
Definitive care
-
การสังเกตอาการผู้บาดเจ็บ
- สิ่งแวดล้อมที่ตามมากับผู้ป่วย
-
-
-
การคัดกรองภาคสนาม (field triage) คือ คะแนนการบาดเจ็บที่จำแนกตาม หลักการด้านสรีระเรียกว่า RTS (Revised Trauma Score)
อัตราการหายใจ (RR, Respiratory rate)
ค่าความดันโลหิตเมื่อหัวใจบีบตัว (SBP, Systolic Blood Pressure)
ระดับความรู้สึกตัว (GCS, Glasgow Coma Score)
-
Secondary Assessment
-
Mechanism of injury
- การใช้อุปกรณ์ช่วย : seatbelt , air bag , หมวกกันน็อก
-
- ชนิดและความรุนแรงของการบาดเจ็บ
-
-
Multiple organ injury
Pelvis
Ruptured Bladder
-
-
การประเมินทางคลินิก
- Hematuria คือ การมีปัสสาวะเป็นเลือด
-
การดูแลรักษา
-
ผู้ป่วยที่บาดเจ็บจากการถูกแทงหรือมีการแตกของกระเพาะปัสสาวะเข้าไปในช่องท้อง ควรจะรักษาโดยการเข้าไปผ่าตัดซ่อมแซมส่วนที่แตก
Fractured pelvis
• เสียชีวิตอยู่ที่ 15-25% แต่ถ้ามีกระดูกเชิงกรานหักร่วมกับมีภาวะshockจะมีอัตราการเสียชีวิตเพิ่มขึ้นเป็น 30-50%
• สำหรับสาเหตุการเสียชีวิตในผู้ป่วยกลุ่มนี้คือ pelvic bleeding ที่ไม่สามารถ control ได้ และเกิดจาก associated injury
Diagnosis
-
-
-
-
-
• Film X-ray ,CT scan with IV contrast
การรักษา
External fixation เป็นการใส่ pin fixator ลงไปทางด้านหน้าบริเวณ iliac crest มีประโยชน์ในการช่วย stabilize fracture และลด pelvic volume โดยทั่วไปหากไม่ได้เปลี่ยนไปทำ internal fixation ให้ใส่ external fixator นานประมาณ 6-12 สัปดาห์
-
Chest
flail chest
เป็นภาวะที่ผู้ป่วยมีกระดูกซี่โครงหัก 2 ตำแหน่ง ใน 1 ซี่ เป็นจำนวน 3 ซี่ขึ้นไปหรือผู้ป่วยมีกระดูกซี่โครงหัก 1 ซี่หรือมากกว่าและมี separation ของcostochondral junction หรือมีกระดูก sternum หักร่วมด้วย มักจะเกิดจากแรงกระท าที่รุนแรง จึงมักมี lung contusion, pneumo หรือ hemothoraxร่วมด้วย flail chest เกิดภาวะที่เรียกว่า paradoxical respiration
การรักษามีหลักการคือ ลดความเจ็บปวดและแก้ไข hypoxia ที่เกิดจาก lung contusion ถ้าเห็นว่าไม่ปลอดภัยควรใส่ endotracheal tube และช่วยหายใจด้วยเครื่องช่วยหายใจ ถ้ามี pneumo หรือ hemothorax ควรใส่ chest tube fluid resuscitation
pneumo/hemothorax ,Tension pneumothorax
อาจเกิดจาก blunt หรือ penetrating trauma ลมอาจรั่วจากเนื้อปอด,bronchi, trachea หรือจากภายนอกผ่านบาดแผล ที่ผนังทรวงอกเข้าสู่ช่องอกทำให้ปอดไม่ขยายตัวเกิดภาวะ hypoxia
-
-
Open pneumothorax
เป็นภาวะที่มีบาดแผลที่ผนังทรวงอกขนาดใหญ่กว่า 2/3 ของเส้นผ่าศูนย์กลางของ trachea บางครั้งเรียก "sucking chest wound"
เมื่อหายใจเข้าลมจากภายนอกจะผ่านบาดแผลนี้เข้าสู่ช่องอกเกิดภาวะrespiratory distress ขึ้น
การรักษา ทำโดยปิดบาดแผลที่ผนังช่องอกด้วย sterile occlusive dressing และใส่ chest tube ถ้าผู้ป่วยยังมีปัญหาเรื่องการหายใจมาก ควรใส่ endotracheal tube และช่วยหายใจ ส่วนมากบาดแผลที่ผนังทรวงอกมักต้องเย็บปิดซ่อมแซมในห้องผ่าตัด
Massive hemothorax
-
-
การรักษา ทำโดยใส่ chest tube และให้ fluid resuscitation ถ้าเวลาที่ได้รับบาดเจ็บไม่นาน และมีเลือดออกจาก chest tube ทันทีมากกว่า 1,200 - 1,500 ml ควรน าผู้ป่วยเข้าห้องผ่าตัดทำ thoracotomy
-
Abdomen
-
-
การวินิจฉัย
- ซักประวัติ ถาม Mechanism of injury จะช่วยบอกลักษณะ และความรุนแรงของการบาดเจ็บ
-
-
-
- การเจาะท้อง (abdominal paracenthesis )
- Four quadrant peritoneal tap
- Bilateral flank tap
- การล้างท้อง (Peritoneal lavage)
Disaster nursing
MASS Triage
M-Move
-
ทุกคนที่ได้ยินผม ขอให้ยกมือหรือเท้าขึ้น แล้วเราจะ
ไปช่วยคุณ” กลุ่มผู้ป่วยเหล่านี้จัดอยู่ในกลุ่ม Delayedซึ่งรอรับการรักษาได้
-
A-Assess
ถ้าผู้ป่วยมีอาการปางตายหรือเป็นการบาดเจ็บที่รักษาไม่ได้ก็ถือเป็น กลุ่ม Expectant ซึ่งแพทย์ควรปล่อยไว้และรีบไปให้การรักษาแก่ผู้ป่วยรายอื่นต่อไป.
S-sort
ทำได้โดยการแยกแยะผู้บาดเจ็บออกเป็น 4 กลุ่มตาม ID-me (Immediate , Delayed, Mininmal และExpectant)
I- Immediate คือ ผู้บาดเจ็บซึ่งมีภาวะคุกคามชีวิตหรืออวัยวะ ส่วนใหญ่เป็นผู้บาดเจ็บที่มีภาวะแทรกซ้อนบางอย่างเกี่ยวกับ ABC
-
M-Minimal คือ ผู้บาดเจ็บที่สามารถเดินไปมาได้ เป็นผู้ป่วยที่มีสัญญาณชีพปกติและสามารถรอการรักษาได้โดยไม่เกิดผลเสียอะไร
E-Expectant คือ ผู้บาดเจ็บที่มีโอกาสรอดชีวิตน้อยมาก
และทรัพยากรที่มีอยู่ไม่เพียงพอในการช่วยเหลือผู้บาดเจ็บ
-
D – Detection
- disaster หรือ MCI เกิดขึ้น
- มีการตรวจพบสารอันตรายหรือไม่
- ทราบสาเหตุหรือไม่ และสถานการณ์ในที่เกิดเหตุปลอดภัยหรือยัง
-
-
-
A – Assess Hazards
-
ความรู้ที่สำคัญ คือ รีบทำงานให้เสร็จและย้ายออกให้เร็วที่สุด นอกจากนี้แล้วก็ควรคำนึงถึงการป้องกันตนเองด้วยการสวมเครื่องมือป้องกันตนเองก่อนเข้าไปในที่เกิดเหตุอีกด้วย
T – Triage/Treatment
ระบบการคัดกรองที่ใช้คือ MASS Triage Model ประกอบด้วยMove, Assess, Sort และ Send ซึ่งเป็นระบบคัดกรองผู้บาดเจ็บจำนวนมากอย่างรวดเร็วโดยมีลาดับขั้นการปฏิบัติง่ายๆ วิธีนี้สามารถแบ่งผู้ป่วยเป็นกลุ่มๆตามความรีบด่วนในการรักษาดัง ID-me(Immediate, Delayed, Minimal และ Expectant) ได้อย่างรวดเร็ว
-
-
CPR
CPR ในสถานการณ์การระบาดของ COVID-19
- Chest Compression COVID 19
Chest Compression ทำให้เกิดการกระจายของฝอยละอองสารคัดหลั่งออกจากปากและจมูก ของผู้ป่วย จึงมีโอกาสเกิดการฟุ้งกระจายของเชื้อไวรัส COVID-19 ดังนั้นแนะนำให้ใส่Surgical Mask แก่ผู้ป่วยทุกรายก่อนเริ่มทำChest Compression เสมอ
-
-
แนะนำให้เตรียม Ventilator ที่พร้อมใช้งานไว้เสมอ สำหรับหอผู้ป่วยหรือแผนกที่ความเสี่ยงสูง (เช่น ห้องฉุกเฉิน , Cohort Ward , Critical ward เป็นต้น)
แนะนำให้ใช้ Endotracheal Tube ไม่แนะน า Supraglottic Airway Deviceใส่ Endotracheal tube เมื่อ Ventilator (Closed circuit) พร้อมเท่านั้นถ้า Ventilator มีปัญหา หรือยังไม่พร้อมใช้ ให้ต่อ Self-Inflaing Maskwith HEPA filter เท่านั้น
ไม่แนะนำ Bag-Mask Ventilationหลีกเลี่ยงการ Suction ในปาก (ก่อนIntubation Odds Ratio 3.5, หลัง Intubation Odds Ratio 1.3)
ไม่แนะนำการ Clamp Endotracheal tube เนื่องจากอาจมี Positive Pressure ระหว่างการทำ ChestCompression ทำให้เกิด Pneumothorax ได้
-
ในกรณีผู้ป่วยมีการใช้ Oxygen Cannula แล้วเกิด Sudden Cardiac Arrest แนะนำให้ใส่ Surgical Mask ปิดทับสาย Oxygen Cannula ทันที เนื่องจากการทำ Airway Manipulation ( ได้แก่ Suction /Nasopharyngeal Airway /Oropharyngeal Airway ) มีโอกาสเกิดฝอยละอองได้ แนะนำให้หลีกเลี่ยงการทำโดยไม่จำเป็น
• แนะนำให้ใช้ Adhesive pads (ถ้ามี)
• ข้อบ่งชี้และปริมาณพลังงานไฟฟ้า ยึดตาม Standard TRC Guidelines ปัจจุบัน
- Medications ให้ยึดตาม Standard TRC Guidelines
ปัจจุบัน
- การทำ CPR ถือเป็นหัตถการที่ทำให้เกิดฝอยละออง (Aerosol generating procedures) แนะนำให้ทำใน Airborne Infection Isolation Rooms (AIIRs) ถ้ามี หรือเป็นห้องพื้นที่แยก (Single room with door closed) ตามนโยบายควบคุมการติดเชื้อของแต่ละโรงพยาบาล
- Post Arrest Care ให้ยึดตาม Standard TRC Guidelines และนโยบายควบคุมการติดเชื้อของแต่ละโรงพยาบาลและปรึกษาผู้เชี่ยวชาญตามสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง
- บันทึกรายชื่อ ผู้เข้าร่วมในการท า CPR ทุกคนให้สามารถติดตามได้ง่าย กรณีผล COVID-19 พบเชื้อภายหลัง
-
CPR 2020
Position : ตำแหน่งในการวางมือของการปั๊มต้องวางมือตรงส่วนล่างขอกกระดูกหน้าอก ( lower half of sternum bone )
- เริ่มกดหน้าอก 30 ครั้ง โดยให้ความสำคัญกับ
- กดเร็ว (อย่างน้อย 100-120 ครั้ง/นาที)
- ถอนมือจนสุด ปล่อยให้หน้าอกขยายกลับอย่างเต็มที่หลังการกดแต่ละครั้ง
- กดลึก (อย่างน้อย 2 นิ้ว หรือ 5 เซนติเมตร ไม่เกิน 2.4 เซนติเมตร หรือ 6 เซนติเมตร)
-
- A: Airway เปิดทางเดินหายใจให้โล่ง ด้วยการทำการเชิดหัว-เชยคาง (head tilt-chin lift) หรือยกกราม (jaw thrust)
- ช่วยหายใจ 2 ครั้ง แล้วเริ่มกดหน้าอกในข้อ 1 ต่อ เพื่อให้อัตราการกดหน้าอกต่อการช่วยหายใจ = 30:2 การผายปอดแต่ละครั้ง มากกว่า 1 วินาทีและสามารถทำให้หน้าอกยกขึ้นได้ในแต่ละครั้ง
- ทำขั้นตอน C-A-B ไปเรื่อย ๆ จนกว่า เครื่องช็อกไฟฟ้า
(defibrillator)
Quality of CPR
- Push Hard กดลึก 5 – 6 ซม. (2 – 2.4 นิ้ว)
- Push Fast กดเร็ว 100 – 120 ครั้ง/นาที
- Fully Chest Recoil ปล่อยให้หน้าอกคืนกลับอย่างเต็มที่
- Avoid interruption ขัดจังหวะการกดหน้าอกน้อยที่สุด หยุดกดหน้าอกไม่เกิน 10 วินาที
- เลี้ยงการหายช่วยใจมากเกินไป
- เปลี่ยนคนกดหน้าอกทุก 5 รอบ หรือ 2 นาที
-
-