Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Acquired Heart Disorder - Coggle Diagram
Acquired Heart Disorder
Congestive Heart Failure
แบ่งเป็น
1. Systolic Heart Failure เกิดจากกล้ามเนื้อหัวใจไม่สามารถสูบฉีดเลือดออกจากหัวใจได้ ปริมาณเลือดออกไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกาย จึงลดลง
2. Diastolic Heart Failure เกิดจากกล้ามเนื้อหัวใจไม่มีความยืดหยุ่น จึงส่งผลให้เลือดไหลเข้าสู่หัวใจได้อย่างมีประสิทธิภาพ การสูบฉีดเลือดออกจากหัวใจจึงน้อยลง
-
อาการและอาการแสดง
ภาวะหัวใจวายที่พบในเด็ก
เด็กทารก
-ปัญหาการกิน (ขย้อน อาเจียน ปฏิเสธการกิน)
-สีผิวซีด (pallor) -เหงื่อออกมาก(diaphoresis)
-หายใจเร็ว (Tachypnea)
พบน้อย
-Cyanosis เขียวคล้ำ
-Palpitation หัวใจเต้นไม่เป็นจังหวะ
-Syncope เป็นลม -Facial edema หน้าบวม
-Dependent edema บวมน้ำ
-Ascites ท้องมาน
เด็กโต
-อ่อนล้า(fatigue) เหนื่อยเมื่อออกแรง
-หายใจลำบาก(dyspnea)
-ปวดท้อง(abdominal pain)
-คลื่นไส้ อาเจียน (nausea, vomiting)
-
-
การรักษา
1.แก้ไขสาเหตุของ HF
2.อาหาร (จำกัดอาหารที่เกลือต่ำและแคลอรี่สูง) 3.Digitals ปรับปรุงการหดตัวของหัวใจ
4.ยาขับปัสสาวะลด Preload >> frusemind
5.Dilators >> reducing afterload : ACE
การพยาบาล
-
-ดูแลให้ออกซิเจน
-ให้นอนในท่าศีรษะสูง fowler’s position หรือ semi-fowler’s position
-ดูแลการให้น้ำและนม (จำกัดน้ำและเกลือ) เพิ่มแคลอรี่ -บันทึกสัญญาณชีพ ทุก 1-2 ชม
-การป้องกันการติดเชื้อ
-การสังเกตที่ผิดปกติ
-การมาตรวจตามนัด
-
-
Kawasaki Disease (KD)
เกิดจาก
-มีการอักเสบของหลอดเลือดแดงทั่วร่างกาย
-พบบ่อยในเด็ก <5 ปี บ่อยสุด 2-3 ปี -หายได้เอง
- 20-25% ของผู้ป้วยไม่ได้รักษา จะมีความผิดปกติของ Coronary arteries coronary aneurysm
อาการ/อาการแสดง
-
-
-
-
-
ฝ่ามือและฝ่าเท้าบวมแดง ไม่เจ็บ ผิวหนังลอกบริเวณปลายของเล็บมือและเท้า (ประมาณ 10-20 วัน หลังมีไข้) และลามไปที่ฝ่ามือฝ่าเท้า บางรายเล็บอาจหลุดได้ หลังจกนั้น 1-2 เดือน จะมีรอยขวางี่เล็บ (transverse groove; Beau's line)
➢พบ 20-30% ถ้าไม่ได้รับการรักษา
➢กลา้มเนื้อหัวใจอักเสบ ลิ้นหัวใจรั่ว และเส้นเลือดแดงเลี้ยงหัวใจ (coronary artery)อักเสบ>>เส้นแดงเลือดพองโต (aneurysm) พบในช่วง10-28 วันของโรค>>กล้ามเนื้อหัวใจทำงานไม่ดีและหัวใจวาย ➢ส่วนเส้นเลือดทีโป่งพอง>>อาจเกิดการอดุตันจากลิ่มเลือด ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน
➢ถ้าเป็นมาก>>เสียชีวิตพบประมาณ 1-2%
-
การรักษา
ยา
1.ASAระยะแรกให้ขนาดสูง 80-100mg/kg/day จนไข้ลด
อย่างน้อย 3-4 วัน จึงลดขนาดเป็ น 3-5mg/kg/dayต่อ6-8 สัปดาห์ กรณีที่ไม่มี coronary aneurysm
2.IVIG 2 gm/kg iv 10-12 hr ควรให้ยาภายในวันที่ 10 จะลดอัตราการเกิด coronary artery aneurysm เหลือร้อยละ 2-4 จาก 15-25% ยิ่งให้เร็วยิ่งดี
วัคซีน
1.การให้วัคซีนชนิดมีชีวิต เช่น วัคซีนโรคหัด(measles vaccine, MMR vaccine)และวัคซีนโรคสุกใส(varicella vaccine) ควรให้อย่างน้อย 11 เดือนหลังจากได้รับIVIG เนื่องจากการให้ IVIG ในขนาดสูงมีผลรบกวนการเกิดภูมิคุ้มกัน
2.ในผู้ป่วยKawasakiที่รับยาaspirinระยะยาว เช่น รายที่เกิดภาวะcoronary aneurysm พิจารณาให้ influenza vaccine เนื่องจากมีความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะ Reye’s syndrome
-
-