Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคเบาหวานในหญิงตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
โรคเบาหวานในหญิงตั้งครรภ์
สาเหตุและปัจจัยส่งเสริม
1.ดัชนีมวลกายมากกว่า 25 กก/ตร.มในคนทั่วไป
แต่ถ้าเป็นคนอเมริกันเชื้อสายเอเชียที่BMI มากกว่า 23กก/ตร.ม
2.ญาติสายตรงเป็นเบาหวาน
3.เชื้อสายที่มีความชุกของเบาหวานขณะตั้งครรภ์สูงเช่นแอฟริกัน อเมริกัน
4.ประวัติคลอดบุตรน้ำหนักมากกว่า 4,000 กรัม
5.ประวัติเบาหวานขณะตั้งครรภ์ในครรภ์ก่อน
6.ความดันโลหิตสูง
(มารดาเป็น DM )
อาการและอาการแสดง
1.ปัสสาวะมาก(polyuria)
2.ดื่มนํ้ามาก(polydipsia)
3.รับประทานอาหารจุ(polyphagia)
4.นํ้าหนักลด (weight loss)
(ไม่พบอาการและอาการแสดง )
ผลกระทบของโรคต่อการตั้งครรภ์
1.ระดับ fasting glucose ที่มากกว่า 105 มก./ดล.จะเพิ่มความเสี่ยงทารก
2.เสียชีวิตในครรภ์ช่วง4-8สัปดาห์สุดท้ายก่อนคลอด
3.โอกาสเกิดครรภ์เป็นพิษเพิ่มขึ้น
4.โอกาสผ่าตัดคลอดเพิ่มสูงขึ้นเป็นร้อยละ 17 ในรายที่รักษาด้วยการคุมอาหารและร้อยละ 25 ในราย ที่ต้องรักษาด้วยอินซูลิน
5.โอกาสเป็นโรคเบาหวานในช่วง 22 - 28 ปีหลังคลอดสูงถึงร้อยละ 70
(เกิดภาวะ น้ำตาลในเลือดสูง ค่า น้ำตาล 2 hr PP 184 mg/dl50 gm OCT
148mg/dl 100 gm OGTT 84 ,208,185,1650)
ผลกระทบที่มีต่อทารกในครรภ์
1.โอกาสเกิดทารกพิการในครรภ์ไม่เพิ่มขึ้นซึ่งต่างPGDM
2.ทารกตัวโตน้ำหนักตัวมากกว่า 4500 กรัม
3.Hypoglycemia
4.Hyperbilirubinemia
5.Hypoglycemia
6.Hypocalcemia
7.Hypomagnesemia
8.Polycythemia
1 more item...
ผลต่อการตั้งครรภ์ต่อโรค
ขณะรกมีการสร้างฮอร์โมน HPL ก่อให้เกิดภาวะดื้ออินซูลิน และเพิ่มการใช้พลังงานจากไขมันเพื่อสงวนพลังงานจากน้ำตาลนั้นไว้ให้กับทารกในครรภ์ส่งผลให้การตั้งครรภ์ปกตินั้นจะตรวจพบว่ามีภาวะ Fasting hypoglycemiaและภาวะ postprandial hyperglycemiac และ hyperinsulinemia ซึ่งฮอร์โมน HPL จะเพิ่มปริมาณมากขึ้นเรื่อยๆตามอายุครรภ์และเพิ่มสูงในช่วงอายุครรภ์ 24-28 สัปดาห์และสูงที่สุดที่ช่วง 34-36 สัปดาห์
( ตรวจพบน้ำตาลในปัสสาวะ sugar trace เปลี่ยนจาก DMA1 เป็น DMA2)
การประเมินภาวะสุขภาพ
ด้านร่างกายBw ก่อนตั้งครรภ์ 49.5 กก ก่อนคลอด 61 กก. นนเพิ่มตลอดการตั้งครรภ์ 11.5 กก แขนขาไม่มีอาการ บวม ความดันโลหิตปกติ
ด้านจิตใจ มีความวิตกกังวลแต่สามารถยอมรับและปรับตัวดูแลตนเองและบุตรได้เหมาะสม
ด้านสังคม ครอบครัวและสามี ให้การสนับสนุน พามาฝากครรภ์เกือบทุกครั้ง สามีช่วยเหลือในการดูแลบุตรหลังคลอด
การวินิจฉัย
วิธีการตรวจแบบ 2 ขั้นตอน
1.ตรวจคัดกรองด้วย 50 กรัม glucose challenge test plasma glucose < 140 มก./ดล.
2.การตรวจวินิจฉัยด้วย 100 กรัม OGTTวินิจฉัยเบาหวานขณะตั้งครรภ์ถ้าตรวจพบความผิดปกติ2 ค่าเป็นต้นไป
50 gm OCT 148mg/dl 100 gm OGTT 90 ,208,185,165
การรักษา
การควบคุมระดับน้ำตาลโดยการควบคุมอาหารและออกกำลังกาย
ยาฉีดอินซูลิน
( Insulin Mixtard (70:30) 36-0-16 unit ควบคุมอาหาร )
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลที่2.พร่องความรู้ในการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์ที่เป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลที่ 3วิตกกังวลกลัวอันตรายต่อตนเองและบุตร เนื่องจากเป็นโรคเบาหวานในขณะตั้งครรภ์
ระยะคลอด
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลที่ 4ผู้คลอดและทารกแรกเกิดอาจเกิดอันตรายจากภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำในระยะรอคลอด
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลที่ 5 ไม่สุขสบาย เนื่องจากเจ็บครรภ์คลอด
ระยะหลังคลอด
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลที่ 6 มารดาขาดความรู้ในการดูแลตนเองและบุตรหลังคลอดเนื่องจากคลอดครั้งแรก
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลที่ 7 ทารกมีโอกาสเกิดภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ เนื่องจากมารดาเป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลที่ 1 เสี่ยงต่อภาวะน้ำตาลในเลือดสูง/ต่ำ และเกิดภาวะแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์เนื่องจากเป็น GDMA1