Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ICM with CAD, นางสาว ปุณยาพร บุญเพิ่ม รหัสนิสิต 61010085 กลุ่ม 02-13…
ICM with CAD
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่ผิดปกติ(แรกรับ)
Potassium 3.2 (normal 3.5-5.1 mmol/L)
Chloride 92 (normal 98-107 mmol/L)
Bun 29 (normal 6-20 mg/dL7
Creatinine 1.25 (normal 0.51-0.95 mg/dL)
Troponin T hs 435.3 (normal 0-14 mg/L)
Hb 10.8 (normal 12-16 g/dL)
Hct 32.3 (normal 38-47 %)
Neutrophil 86.1 (normal 40-75 %)
MCV 76.9 (normal 83-97 fl)
MCH 25.7 (normal 27-33 pg)
Lymphocyte 6.6 (normal 20-50 %)
สัญญาณชีพแรกรับ
(2 มีนาคม 64)
T 36.6 องศาสเซลเซียส
PR 88 bpm
RR 20 bpm
BP 168/94 mmHg
มีการคั่งของเกลือและน้ำในหลอดเลือด
CO เพิ่มขึ้น
Venous return เพิ่มขึ้น
หายใจลำบาก เหนื่อย
PND orthopnea
CXR cardio megaly
O2 sat 97 %
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
1.การแลกเปลี่ยนก๊าซลดลง เนื่องจาก การบีบตัวของหัวใจลดลงจากภาวะหัวใจล้มเหลว
S : - , O : -หายใจเหนื่อย แน่นหน้าอก
-RR 28 bpm
-crepitation both lung
วัตถุประสงค์ : ผู้ป่วยมีการแลกเปลี่ยนก๊าซดีขึ้น
เกณฑ์การประเมิน 1.ไม่มีอาการและอาการแสดงของภาวะพร่องออกซิเจน คือ กระสับกระส่าย เหงื่อออก ตัวเย็น ระดับความรู้สึกตัวลดลง
2.ทางเดินหายใจโล่ง ไม่มีเสมหะ
3.อัตราการหายใจอยู่ระหว่าง 16-24 bpm
4.O2saturation 95% ขึ้นไป
กิจกรรมการพยาบาล 1.ประเมินอาการและอาการแสดงของภาวะพร่องออกซิเจน คือ กระสับกระส่ายเหงื่อออก ตัวเย็น
2.ดูแลให้ได้รับออกซิเจน cannula 3 LPM ตามแผนการรักษาของแพทย์
3.ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง โดยการดูดเสมหะ
4.วัดและบันทึกสัญญาณชีพ ทุก 1-2 ชั่วโมงโดยสังเกตอัตราความลึก อัตราการหายใจ การขยายของทรวงอกและค่าความอิ่มตัวของออกซิเจน
5.จัดท่านอนศีรษะสูง 30-45 องศาเพื่อให้กระบังลมหย่อนตัว
6.ให้ยา lasix 250 mg iv drip 1m/hr ตามแผนการรักษาของแพทย์
7.ติดตามผลการตรวจก๊าซในเลือดแดง เพื่อประเมินภาวะการแลกเปลี่ยนก๊าซในปอด
8.บันทึกปริมาณสารน้ำ เข้า-ออก ทุก 8 ชั่วโมง
2.มีโอกาสเกิดภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
วัตถุประสงค์ : เพื่อให้ผู้ป่วยปลอดภัยจากภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดหรือหัวใจตาย
เกณฑ์การประเมินผล 1.คลื่นไฟฟ้าหัวใจไม่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม
2.ไม่มี Q wave , ST segment ต่ำน้อยกว่า 2 ช่อง หรือยกสูงขึ้นมากกว่า 2 ช่อง
กิจกรรมการพยาบาล 1.เฝ้าติดตามคลื่นไฟฟ้าหัวใจอย่างต่อเนื่องและบันทึกเมื่อมีภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ และบันทึกคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
2.ประเมินสัญญาณชีพ ค่าออกซิเจน ทุก 30 นาที และประเมินระดับความรู้สึกตัวทุก 2-4 ชั่วโมง
3.เมื่อผู้ป่วยมีอาการเจ็บหน้าอก ทำการตรวจเคลื่อนไฟฟ้าหัวใจ 12 Leads
4.ดูแลให้ได้รับยา dobutamine ตามแผนการรักษาของแพทย์เพื่อให้เลือดสูบฉีดไปเลี้ยงหัวใจได้มากขึ้น
5.ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับการพักผ่อนอย่างเพียงพอ
3.มีโอกาสเกิด hypoglycemia และ hyperglycemia
วัตถุประสงค์ : เพื่อให้ปลอดภัยจากภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำหรือสูง
เกณฑ์การประเมินผล 1.blood sugar อยู่ระหว่าง 140-200 mg%
2.ไม่มีอาการ หน้ามืด ใจสั่น
3.รับประทานอาหารได้ปกติ
กิจกรรมการพยาบาล 1.ตรวจหาระดับน้ำตาลในเลือด DTX ทุก 2-4 ชั่วโมง ตามแผนการรักษา
2.ประเมินระดับความรู้สึกตัวทุก 2 ชั่วโมง หรือเมื่อมีอาการเปลี่ยนแปลง
3.ให้ยา insulin ตามแผนการรักษา
4.ให้สารน้ำตามแผนการรักษาของแพทย์
5.หากมีระดับน้ำตาลที่ผิดปกติ รีบประสานแพทย์ทันที
Dm เบาหวาน
สร้างฮอร์โมน insulin ลดลง
น้ำตาลในเลือดสูง
ร่างกายตอบสนองต่อ —> Insulin ลดลง
ไขมันในเลือดผิดปกติ
ตับสร้าง triglyceride เพิ่ม
ระดับไขมันไตรกลีเซอไรด์ในเลือด สูง
เสี่ยง hyperlipidemia (ไขมันในเส้นเลือดสูง)
เส้นเลือดตีบ อุดตัน
เลือดเลี้ยงอวัยวะในร่างกาย ไม่เพียงพอ
2 more items...
โคเลสเตอรอล สูง
LDL สูง
HDL ต่ำ
1 more item...
สะสมโคเลสเตอรอลในหลอดเลือด
หลอดเลือดตีบแคบอุดตัน
1 more item...
ข้อมูลเบื้องต้นผู้ป่วย
Pt.ญ อายุ 70 ปี
Diagnosis : ICM,DM,Heart failure,DLP
อาการสำคัญก่อนมาโรงพยาบาล
เหนื่อย แน่นหน้าอก 2 ชม.ก่อนมาโรงพยาบาล
นางสาว ปุณยาพร บุญเพิ่ม
รหัสนิสิต 61010085 กลุ่ม 02-13 คณะพยาบาลศาสตร์