Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคหัวใจพิการแต่กำเนิด (Congenital Heart Disease) - Coggle Diagram
โรคหัวใจพิการแต่กำเนิด (Congenital Heart Disease)
1.โรคหัวใจพิการแต่กำเนิดชนิดไม่เขียว(Acyanotic Heart Diseases)
1.1)Left to Right Shunt Lesions
กลุ่มโรคที่มีความผิดปกติของโครงสร้างหัว
ใจที่เป็นมาแต่กำเนิดทำให้มีช่องทางเชื่อมต่อระหว่างหัวใจและหลอดเลือดจากฝั่่งซ้ายซึ่งทำหน้าที่ส่งเลือดไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกาย(Systemic circulation) ห้องหัวใจหรือหลอดเลือดทางฝั่งขวาซึ่งทำหน้าที่ส่ง
เลือดไปฟอกที่ปอด (Pulmonary circulation)
อาการ
-ได้ยินเสียงmurmur เมื่ออายุ 6-8 Week
-HF และ Hyperactive precordium
-หอบเหนื่อย มีอาการติดเชื้อทางเดินหายใจบ่อยและรุนแรง
-CXR จะพบ Cardiomegaly และ increase pulmonary vascularture
-มักมีการเจริญเติบโตช้า
การรักษา
กรรทชีที่มีหัวใจวาย
Admit ให้ยาควบคุมอาการ Diuretic Diuretic+spironolactone
Inotropic Digoxin
Vasodilation ACEI
-ผ่าตัดหรือรักษาทางสวนหัวใจ
เฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน
ให้อาหาร/นมที่มีแคลอรี่ ปรับอาหารตามวัย
ประเภท
1.รูรั่วผนังกั้นหัวใจห้องล่าง (VSD)
ขนาดเล็ก
ไม่มีอาการ murmur ไม่มีภาวะแทรกซ้อน ไม่ต้อง Rxแนะนำป้องกันการติดเชื้อ รักษาด้วยยาเพื่อ ควบคุม HF
การปิดรูรั่ว >> การผ่าตัด การสวนหัวใจ
ขนาดใหญ่
HF onset 2-8 Wk,เหนื่อยหอบ หัวใจโตมาก→ทรวงอกโป่ง เต้นแรง (hyperactive precordium) หัวใจเต้นเร็ว ตับโต ติดเชื้อทางเดินหายใจบ่อยและรุนแรง ทารกเหนื่อยเวลาดูดนม
2.รูรั่วผนัังกั้นหัวใจห้องบน (ASD)
อายุน้อยกว่า 2 ปี มักไม่มีอาการแสดงชัดเจน
ขนาดกลางและใหญ่
การสวนหัวใจ การผ่าตัด
ขนาดเล็ก
ไม่ต้อง Rxแนะนำป้องกันการติดเชื้อ รักษาด้วยยาเพื่อ ควบคุม HF
หัวใจมีเสียง
1.wide fixed split S2
2.systolic ejection murmur บริเวณ Left Upper sternal border
3.mid diastolic rumbling murmur บริเวณ Left Upper sternal border
การวินิจฉัย
-CXR รูขนาดปานกลาง หัวใจโต Cardiothoracic ratio >0.5, increased pulmonary blood flow
-EKG อาจพบ prolonged PR interval, RAโต
-Echo RA และ RV โตขึ้น
3.การคงอยู่ของหลอกเลือดแดงที่เชื่อมระหว่างหลอดเลือดแดงใหญ่ทั้งสอง (PDA)
ขนาดเล็ก
ไม่มีอาการ
ขนาดใหญ่
มักมีอาการ 6-8 สัปดาห์หลังคลอดหัวใจวายดูดนมแล้วเหนื่อย ดูดนานมเีหงือ่ออกมาก ปอดอักเสบ/ติดเชื้อง่าย เลี้ยงไม่โต
การรักษา
-การใช้ยาIndomethacin (preterm)
-ขนาดใหญ่ HFรักษาด้วยยา
-ทุกรายต้องปิด PDA ขนาด<3.5 มม.ใช้การสวนหัวใจ การผ่าตัด
1.2)Obstructive
1.หลอดเลือดแดงใหญ่ส่วนไปเลี้ยงร่างกายส่วนล่างตีบ (COA)
LV บีบตัวแรงมากขึ้น >> Lelf ventricle hypertrophy
รายที่มีอาการรุนแรง เส้นเลือดมักมีขนาดเล็กด้วย ต้องอาศัย PDA เลือดไปเลี้ยงส่วนล่างเพียงพอ
ถ้าเลือดไปเลี้ยงไม่เพียงพอ >> HF acidemia ส่วนใหญ่มีความผิดปกติอื่นร่วม้วย เช่น VSA
ถ้าบีบน้อยอาจไม่มีอาการ
การรักษา
-รายที่ HT >> ยาควบคุมความดัน
-รายที่มี HF >>ยาควบคุมอาการ
-ในทารก >>PGE1 เพื่อชะลอการปิด PDA
-การแก้ไขรอยตีบ การสวนหัวใจเพื่อถ่างขยาย/การผ่าตัด
BP ต่ำกว่า ชีพจรเบากว่า
2.Aortic Stenosis(AS)
1.Supravulvular stenosis
2.Vulvular stenosis
3.Subvulvular stenosis
น้อย-ปานกลาง
ไม่มีอาการ ฟังได้ murmur
รุนแรง
เป็นลม (syncope)
เจ็บหน้าอก(Chest pain)
ExerciseExercise intolerance
CHF
การรักษา ขึ้นอยู่กับความรุนแรงของการตีบตัน 1.Balloon angioplasty 2.Aortic valvuloplasty / Aortic valvotomy
3.ลิ้นหัวใจหลอดเลือดแดงที่ปอดตีบ (PS)
RV บีบตัวแรงมากขึ้น
ระยะยาว >>RVH (right ventricle hypertropy)
การรักษา
-ตีบแคบเล็กน้อย ไม่ต้องรักษา ไม่จำกัดกิจกรรม F/U เป็นระยะๆ
-ตีบแคบปานกลาง (ความดันต่าง>40mmHg)>>สวนหัวใจถ่าง
ขยายลิ้น/หัวใจ
-ตีบแคบมาก มีอาการตั้งแต่แรกเกิด >> PGE1+ถ่างขยายลิ้นหัวใจ
2.โรคหัวใจพิการแต่กำเนิดชนิดเขียว (Cyanotic Heart Diseases)
2.ชนิดมีเลือดไปปอดน้อย (Decreased pulmonary blood flow)
อาการและอาการแสดง
-เขียวตามริมฝีปปาก เล็บ(cyanosis) ความรุนแรง อายุที่เริ่มมีอาการเขียวขึ้นอยู่กับปริมาณเลือดไปเลี้ยงที่ปอด
-นิ้วปุ้ม (clubbing fingers) มักพบในรายที่มีอากรเขียวนานเกิน 1-2 ปีขึ้นไป
-เหนื่อยง่าย เนื่องจากขาดออกซิเจนในเลือดไปเลี้ยงร่างกายน้อยลง อาจพบพัฒนาการกล้ามเนื้อมัดใหญ่ล่าช้า
-เจริญเติบโตช้า ไม่ชัดเจนเท่ากลุ่มที่มี HF แต่เหนื่อยง่ายทำให้กินได้น้อย
ภาวะขาดออกซิเจนไปเลี้ยงสมองชั่วคราว (hypoxic spells) พบบ่อย เกิดจากการลดลงของเลือดไปฟอกที่ปอดกะทันหัน มักเกิดได้เองตอนตื่นนอน เกิดเวลาร้องไห้มาก เบ่งถ่ายอุจจาระ อาบน้ำอุ่น
การรักษา
แบบประคับประคอง
การให้ธาตุเหล็ก
ยาคลายการหดเ propranololกร็งของกล้ามเนื้อหัวใจ ยาต้านเบต้า เช่น
การดูแลช่องปากและฟัน
หลีกเลี่ยงกิจกรรมที่หักโหม
การผ่าตัด
การผ่าตัดช่วยเหลือชั่วคราว
การผ่าตัดแก้ไขความผิดปกติ
1.ชนิดมีเลือดไปปอดมาก(Increased
pulmonary blood flow)
1.เกิดจากการที่มีเลือดดำและเลือดแดงปนกันก่อนไปเลี้ยงร่างกาย โดยไม่ตีบแคบของหลอดเลือดไปปอด
อาการ/อาการแสดง
กลุ่มนี้จะไม่เขียวมาก
มีลักษณะของภาวะหัวใจวาย:หายใจเร็ว เหนื่อยง่าย เหงื่อออกมาก เลี้ยงไม่โต ตับโต หัวใจเต้นเร็ว จะไม่มีอาการ hypoxic spells
พัฒนาการด้านการใช้กล้ามเนื้อช้ากว่าปกติ
นิ้วจะปุ้มไม่มาก
การรักษา
รักษาภาวะหัวใจวาย
การผ่าตัด ชั่วคราว pulmonary artery banding แก้ไขทั้งหมด
ภาวะแทรกซ้อนที่พบ
ฝีในสมอง ติดเชื้อในหัวใจ
ความดันเลือดในปอดสูงถาวร
2.กลุ่มที่มีการสลับกันของหลอดเลือดดำและหลอดเลือดแดงใหญ่
อาการ/อาการแสดง
เขียวมาก เหนื่อยง่าย
อาการของภาวะหัวใจวาย มากน้อยขึ้นกับช่องทางการปนกันของเลือดดำและเลือดแดง
การรักษา Transpositions of Great Arteries
การให้ยา Prostaglandin E1 (PGE1) ช่วยเปิดหลอดเลือดให้มี การปนกันของเลือดดำและเลือดแดง
การขยายช่องทางติดต่อระหว่างหัวใจห้องบนด้วยบอลลูน(ballon atrial septostomy)
การผ่าตัด
โรคหัวใจแต่กำเนิด
สาเหตุ 80-90% ไมมีสาเหตุของการกำเนิดชัดเจน 15% ที่พบสาเหตุ
1.การติดเชื้อของมารดา ได้แก่ การติดเชื้อหัดเยอรมันในระยะการตั้งครรภ์
2.มารดาได้รับยาขณะตั้งครรภ์ เช่น ยาระงับชัก ยาสงบประสาท กลุ่มยาฮอร์โมน หรือ มารดาดื่มสุรา FAS
3.ความป่วยของมารดา เช่น มารดาเป็น DM >>VSA PDA ASD และ tetralogy of Fallot (ToF) หรือมารดาที่เป็นโรคหัวใจแต่กำเนิด จะทำให้มีลูกเป็นโรคหัวใจ ร้อยละ 3-4
4.ความผิดปกติด้านพันธุกรรม เช่น trisomt 13 และ18 >>VSD PDA ,Down Syndrome >> VSA PDA และโรคหัวใจที่มีการรั่วของผนังกั้นหัวใจทั้งบนและล่างเป็นต้น
การแบ่งประเภทหัวใจพิการแต่กำเนิด
แบ่งตามอาการทางคลินิก
1.โรคหัวใจพิการแต่กำเนิดชนิดไม่เขียว (Acyanotic Heart Diseases)
2.โรคหัวใจพิการแต่กำเนิดชนิดมีอาการเขียว (Cyanotic Heart Diseases)
แบ่งตามการมีเลือดไปเลี้ยงที่ปอด
1.ชนิดมีเลือดไปปอดมาก(increased
pulmonary blood flow)
2.ชนิดมีเลือดไปปอดน้อย (decreased
pulmonary blood flow)