Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 9 การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บ - Coggle Diagram
บทที่ 9 การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บ
Pelvis
Fractured pelvis
• เสียชีวิตอยู่ที่ 15-25% แต่ถ้ามีกระดูกเชิงกรานหักร่วมกับมีภาวะshockจะมีอัตราการเสียชีวิตเพิ่มขึ้นเป็น 30-50%
การรักษา
• External fixation เป็นการใส่pinfixator ลงไปทางด้านหน้าบริเวณiliac crest
• นอกจากนี้ยังมีข้อจำกัดคือframebars ของ external fixatorอาจจะไป บดบังภาพการทำimaging ต่างๆ
และอาจรบกวนในขณะการทำผ่าตัดexplor laparotomy ได
Ruptured Bladder
Blunt injury เป็นการบาดเจ็บจากการกระแทกโดยตรงจากแรงเฉื่อยหรือการกระชากรุนแรงเช่น จากอุบัติเหตุทางรถยนต์ หรือการตกจากที่สูง
Penetrating injury เป็นการบาดเจ็บจากการถูกยิงหรือแทง
การดูแลรักษา (Management)
• การรักษาโดยการเฝ้าระวังและประคับประคอง
• ในผู้ป่วยที่บาดเจ็บจากการถูกแทงหรือมีการแตกของกระเพาะปัสสาวะเข้าไปในช่องท้อง ควรจะรักษาโดยการเข้าไปผ่าตัดซ่อมแซมส่วนที่แตกและล้างน้ำปัสสาวะที่เข้าไปอยู่ในช่องท้องออกให้สะอาด
Concept of trauma care
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บเบือ้ งต้น
1.Primary Assessment
-การตรวจดูเรื่องทางเดินหายใจ (airway with cervical spinecontrol)
-การหายใจ (breathing)
-ระบบไหลเวียนโลหิต (circulation)
2.Resuscitation
3.Secondary Assessment เป็นการตรวจหาพยาธิสภาพอย่างละเอียด หลังจากที่ผู้ป่วยพ้น ภาวะวิกฤติแล้ว
-การซักประวัติ, ตรวจร่างกายอย่างละเอียด
-การตรวจทางห้องปฏิบัติการการตรวจพิเศษต่าง ๆ
4.Definitive care (การรักษา) เป็นการรักษาผู้ป่วย หลังจากที่ได้ตรวจวินิจฉัยในเบื้องต้น เรียบรอ้ยแล้ว -นำผู้ป่วยไปผ่าตัด - นำผู้ป่วยเข้ารับการรักษาในหออภิบาลผู้ป่วยหนัก
Multiple organ injury
pneumo/hemothorax
Massive hemothorax หมายถึง การตกเลือดในช่องปอดมากกว่า 1500 ml อาจให้อาการคล้ายtension pneumothorax
การรักษา ทำโดยใส่ chest tube และให้ fluid resuscitationถ้าเวลาที่ได้รับบาดเจ็บไม่นาน และมีเลือดออกจาก chest tubeทันทีมากกว่า 1,200 - 1,500ml ควรนำผู้ป่วยเข้าห้องผ่าตัดทำthoracotomy เพราะแสดงว่าน่าจะมีการฉีกขาดตัวหลอดเลือดที่ไม่น่าจะหยุดเองโดยง่าย ถ้ามีเลือดออกจาก chest tube มากกว่าชั่วโมงละ 100-200 ml. เป็นเวลาหลายชั่วโมง (4-6 ชั่วโมง) ก็ควรพิจารณาทำthoracotomy
Abdomen
บาดเจ็บที่มีแผลทะลุ เกิดจากการถูกแทงถูกยิง ถูกสะเก็ดระเบิด
บาดเจ็บที่ไม่มีแผลทะลุ เกิดจากแรงกระแทก
การรักษาในระยะฉุกเฉิน
-สังเกตและบันทึกสัญญาณชีพเป็นระยะ
-ดูแลทางเดินหายใจ
1.จัดท่าดูดเสมหะ
2.ใส่ET Tube
3.ให้ออกซิเจน
4.เตรียมเครื่องช่วยหายใจไว้ถ้าพบว่าหายใจขึ้นสันและเร็วร่วมกับPaO2> 50 mmHg ,PaO2, <60 mmHg
-ให้ IVF
-ส่งเลือด
-สำรวจร่องรอยของแผลอย่างละเอียด
-NPO
flail chest
การรักษามีหลักการคือ ลดความเจ็บปวดและแก้ไข hypoxia ที่เกิดจาก lungcontusion ถ้าเห็นว่าไม่ปลอดภัยควรใส่ endotracheal tube และช่วยหายใจด้วยเครื่องช่วยหายใจ ถ้ามี pneumo หรือ hemothorax ควรใส่ chest tube fluid resuscitation
Disaster nursing
D-Detection เป็นการประเมินสถานการณ์ว่าเกินกำลังที่เรามีหรือไม่
I-Incident command ระบบผู้บัญชาเหตุการณ์เพื่อสามารถขอความร่วมมือในทุกหน่วยงานขยายงานยุบงาน
S-Safety and Security เมื่อไปถึงที่เกิดเหตุต้องคำนึงถึงความปลอดภัยต่อผู้ปฏิบัติงานทุกคนด้วย
A-Assess Hazards ควรทำการประเมินที่เกิดเหตุซ้ำ ๆ เพื่อระแวดระวังวัตถุอันตรายต่างๆที่อาจเหลือตกค้างในที่เกิดเหตุ
S- Support การเตรียมการล่วงหน้าเป็นสิ่งสำคัญ
T- Triage / Treatment ระบบการคัดกรองที่ใช้คือ MASSTriage Model
E = Evacuation การอพยพผู้บาดเจ็บระหว่างที่เกิดเหตุ
R-Recovery ช่วงการฟื้นฟูเริ่มต้นทันทีหลังจากเกิดเหตุการณ