Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พระราชบัญญัติ กฏหมายวิชาชีพ, น.ส.กรกนก แย้มเจริญ เลขที่ 4 ห้อง B รหัส…
พระราชบัญญัติ
กฏหมายวิชาชีพ
ความหมายวิชาชีพ
การพยาบาล
ชั้น 1
รักษาโดยใช้กระบวนการพยาบาล
๑.ทำต่อร่างกายและจิตใจของคน
๒. สอน แนะนำ ให้คำปรึกษา แก้ไข และวางแผนดูแลต่อเนื่อง
๓. จัดแวดล้อมให้เหมาะสม
๔. ทำตามแผนการพยาบาลหรือตามแพทย์ ใช้เครื่องมือพิเศษ ติดตามผล และประสานของทีมสุขภาพ
๕. ดูแลที่บ้านตามศักยภาพ
ให้ยาเฉพาะที่หมอสั่ง
ยกเว้น Diclofinac
ห้าม CSS SS
ห้ามให้ยาหรือสาระลายรอบช่องรอบเยื่อบุไขสันหลัง /ไขสันหลัง / SS / IV 3 ประเภท
เช่น Epidural space, subarachnoid space & spinal space
ยาระงับความรู้สึกเฉพาะที่ เช่น bupivacaine & lidoacine คนคลอดหรือผ่าตัดต่ำกว่าเอว
-สารละลายทึบแสงทุกชนิด (Contrast media)
-ยาสลบ 4 ตัว ได้แก่ -Ketamine,Propofal,Ethomedate, Thiopental ยกเว้นผ่านอบรมวิสัญญี ทำงาน รพ.รัฐ
-Chemotherapy ยกเว้นอบรมจากสภา ให้ทาง Peripheral,หรือส่วนกลางที่เปิดไว้แล้ว, ไม่ผสมเอง
ห้ามให้ยา หรือสารละลาย หรือสารที่เกี่ยวข้องกับรังสี
รักษาโรคเบื้องต้น
ต้องผ่านการอบรม
๑.เฉพาะทาง
๒.ได้รับหนังสืออนุมัติ หรือวุฒิบัตร
๓.ตามสาขาที่ผ่านการฝึก
รักษาโรคตามที่สภากำหนด
ขั้นตอนปฏิบัติ
วินิจฉัย ให้ยา และส่งต่อตามคู่มือ ให้ภูมิคุ้มกันตามแนวทางกระทรวง ทำแฟ้มประวัติตามแบบฟอร์ม
ชั้น 2
รักษาคนไข้เคสง่ายๆได้ทั้งหมดเมื่อฉุกเฉิน
หรือทำร่วมกับชั้นหนึ่ง
ให้ยาได้แค่ทางปากและภายนอกเท่านั้น
หัตถการ
จบปี ๔ มาต้องทำตามขอบเขต
ทำแผล ตกแต่งแผล เย็บแผลตื้น ตัดไหม แผลไหม้ระดับ ๒ ให้ยาระงับความรู้สึกเฉพาะที่
ผ่าสิ่งแปลกปลอม ถอดเล็บ จี้หูด-ตาปลา ผ่าฝี เลาะก้อน
ให้ยาระงับความรู้สึกที่ผิว หรือฉีดยาชา
ให้สารน้ำทาง IV เคสวิกฤต / เสียน้ำ / เสี่ยงช็อค /
ให้ยาทางปาก / ผิว / IVและอื่นๆ /ให้เลือด-ออกซิเจน เปิดทางเดินหายใจให้โล่ง ดูดเสมหะ เคาะปอด CPR /เช็ด-ล้าง-หยอด-ป้าย-ปิดตาและจมูก /NG tube /ดาม-ใส่เฝือกชั่วคราว คัดกรองมะเร็งสาวๆ เก็บตัวอย่างเลือด และอื่นๆ
ต้องอบรม
ฝังยาคุม,ใส่/ถอดห่วงอนามัย ผ่าตาปลา เลาะก้อน คัดกรองมะเรบงปาก มดลูก จี้ปากมดลูกด้วยความเย็น
การผดุงครรภ์
ชั้น 1
คลอดปกติ : ป้ายยา Terramycin oilment และบันทึกคลอด
คลอดผิดปกติ : ช่วยเหลือเบื้องต้น แต่ห้ามคีมสูง ฉีดยาบีบรัดมดลูกก่อนคลอด Vacuum รกค้างช่วยดึงรั้ง แล้วส่งต่อ
ชั้น 2
คลอดปกติ : ป้ายยา Terramycin oilment และบันทึกคลอด
หมวด 1 สภาการพยาบาล
มีอำนาจ
ขึ้นนทะเบียน และออกใบอนุญาต /สั่งพัก-เพิกถอนใบอนุญาต /ให้ความเห็นชอบหลักสูตร ป.ตรี /รองรับหลักสูตรการเรียน-ฝึกอบรม /รองรับวิทยาฐานนะของสถาบันที่สอน /รับรองปริญญา-เทียบเท่า-วุฒิบัตร /ออกหนังสืออนุมัติ /ทำตามวัตถุประสงค์สภา
รัฐมนตรีดํารงตําแหน่งสภานายกพิเศษ
วัตถุประสงค์
ควบคุมความประพฤติ /ส่งเสริมการศึกษา-บริการ-วิจัย-ความสามัคคี /่ช่วยเหลือ-แนะนำ ปชช. /
ให้คำปรึกษา-เสนอแนะต่อรัฐเกี่ยวกับปัญหาการพยาบาล /เป็นตัวแทนผู้ประกอบวิชาชีพ /ยุติธรรม
หมวดที่ 2 สมาชิก
สามัญ
-อายุ 18 ปี
-จบพยาบาลจากสภาบันที่สภารับรอง
-ไม่มีพฤติกรรมเสื่อมเสีย -ไม่เคยต้องคำพิพากษาถึงที่สดให้จำคุกในคดีที่เสื่อมเสีย
-ไม่เป็นโรคต้องห้าม
โรคต้องห้าม : พิษสุราเรื้อรัง, เท้าช้าง, สารเสพติดร้ายแรง, เรื้อนระยะ น่ารังเกียจ, วัณโรคระยะอันตราย, คุดทะราด, กามโรค ระยะเป็นผื่น, โรคอื่นที่รุนแรงเป็นอุปสรรค
สิทธิและหน้าที่
-ขอขึ้นทะเบียน
-เลือกตั้ง รับเลือกตั้ง รับแต่งตั้ง แสดงความเห้นเป็นหนังสือเกี่ยวกับกิจการของสภา รายบุคคล/กลุ่ม ถ้า 50 คนขึ้นไปสถาต้องรีบตอบโดยไม่ชักช้า
สิ้นสุดสมาชิก :
ตาย ลาออก ขาดคุณสมบัติ
ส่งใบอนุญาตคืนใน 15 วัน
ถ้าไม่คืนปรับ 1000
กิตติมศักดิ์
ผู้ทรงคุณวุฒิที่สภาเชิญมา (จากสามัญ)
หมวด 3 คณะกรรมการ
จำนวน
เลือกตั้ง : 16 คน
แต่งตั้ง : 16 คน กสธ=5 มหาลัย=4 กลาโหม=3 มหาดไทย มหาดไทย=1 กทม=1 กาชาด=1 สมาคม=1
มีปรึกษา ไม่เกิน 8 คน
คุณสมบัติ
กก.เลือก-แต่งตั้ง : ผู้ประกอบวิชาชีพ /ไม่เคยถูกพักใช้ เพิกถอน /ไม่เป็นบุคคลล้มละลาย
กก.ที่ปรึกษา : สามัญ หรือกิตติมศักดิ์ที่สภาเชิญมา
สิ้นสุดวาระ
กก.แต่งตั้งลาออก :
ทำหนังสือแต่งตั้งคนใหม่จากหน่วยงาน
ถ้าลาออกไม่น้อยกว่า 8 คน : ให้กรรมการเลือกสมาชิกสามัญที่มี คุณสมบัติ กก.มาภายใน 30 วัน
ถ้าลาออก>8คน : เลือกตั้งสมาชิกสามัญมาแทนภายใน 90 วัน ถ้าวาระเหลือ<90 ไม่ต้องเลือกตั้ง
หมวด 4 กิจการของคณะกรรมการ
การดำรงตำแหน่ง
-กก.เลือกนายก 1 คน อุปนายก 2 คน
-นายกเลือกสามัญเป็นเลขธิการ 1 คน (เลือกจากภายนอก ทำให้ กก.มี 33 คน)
-นายกเลือก กก เป็นรองเลขา ปชส. เห มี กก.เห็นชอบ
ลงมติของ กก.
-มี 16 คน
-เสียงข้างมากวาระทั่วไป
-2/3ของ กก.ลงมติ ให้สิ้นสุดสมาชิก เพราะขัดต่อข้อห้าม /ลงมติที่สภานายกพิเศษยับยั้ง
มติที่ต้องผ่านความเห็นชอบจากสภานายกพิเศษ
1.ออกข้อบังคับ
2.กำหนดงบประมาณ
3.ให้สมาชิกพักใช้ เพิกถอน สิ้นสุดเพราะขัดข้อห้าม
4.ชี้ขาด
15 วันไม่ตอบกลับ = ทำตามมติได้
15 วันยับยั้ง = กก.ประชุมใหม่ใน 30 วัน
รอลงมติ >= 22เสียง จึงทำตามมติได้
ถ้าเปลี่ยนมติ ก็ไม่ต้องผ่านนายกสภาพิเศษ = รอ22เสียง
ถ้าเปลี่ยนมติ ที่ต้องผ่านนายกสภาพิเศษ = ขอความเห็นชอบก่อน
หมวด 5 คุมผู้ประกอบวิชาชีพ
ห้ามคนที่ไม่ได้ประกอบวิชาชีพ ไปทำการพยาบาล หรือแสดงใดๆให้คนอื่นเข้าใจผิด
สอบขึ้นทะเบียนเป็นสามัญครั้งแรก
จบในและต่างประเทศ
สอบวัดความรู้
ผ่าน
ขึ้นทะเบียน การพยาบาล หรือการพยาบาลและผดุงครรภ์ = ทำงานได้เลย
ศึกษาต่อเฉพาะทาง
ไม่ผ่าน = สอบต่อไป
ลงทะเบียนสอบวิชาที่ตก
ต้องผ่านภายใน 3 ปี
ขาดจากสมาชิก = ส่งคืนใบอนุญาตใน 15 วัน หลังจากรู้
คน 8 กลุ่มนี้สามารถทำการพยาบาลได้
1.ทำการพยาบาลตัวเอง เช่นฉีดอินซูลิน ซื้อยาเอง หรือเจาะเลือดตัวเอง
2.ธรรมจรรยา คือ ทำโดยจรรยา ไม่หวังผลตอบแทน และไม่เกิดผลร้ายต่อใคร
3.นศ.พยาบาล ฝึกที่ รพ.ใต้ความดูแลของอาจารย์พยาบาล
4.และ8.PN ในทุก รพ.ต้องทำหน้าที่ตามที่กระทรวงสาธารณะสุขกำหนด มีพยาบาลดูแล
5.ผู้ประกอบโรคศิลปะ หรือผู้ประกอบวิชาชีพอื่น เช่นหมอฟัน
6.ผู้เชี่ยวชาญ หรือคนสอนในสถาบันจาก ตปท.ตามคำเชิญให้มาทำงานในไทยต้องมีใบอนุญาตจาก ตปท. แล้วแต้งสถา อยู่ได้ 1-2 ปี
7.อสม.เมื่อมีสาธารณภัย หรือภัยพิบัติรุนแรง
การสืบสวนสอบสวน
สภาได้รับเรื่อง
กรรมการยื่นกล่าวโทษ
-ผู้เสียหายฟ้อง
-อายุความ 1 ปี หลังรุ้
-อายุความไม่เกิน 3 ปีหลังเกิดเรื่อง
ผู้เสียวหายื่นกล่าวหา
-ผู้เสียหายฟ้อง
-อายุความ 1 ปี หลังรุ้
-อายุความไม่เกิน 3 ปีหลังเกิดเรื่อง
ตั้งคณะกรรมการ
กล่าวโทษ
ไม่มีวันหมดอายุ
ตั้งคณะอนุกรรมการจรียธรรมจากสามัญ 3 คน
หาข้อมูล ข้อเท็จจริง พร้อมทำรายงานความเห็นเสนอคณะกรรมการเพื่อพิจารณา
ผู้เกี่ยวข้องไม่ให้ความรุ่วมมือ = ติดคุก ปรับ 1000
ผู้เกี่ยวข้องไม่ให้ความรุ่วมมือ = หาข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อกล่าวหามีมูล
ตั้งคณะกรรมการสอบสวน
จากสามัญ 3 คน
แจ้งผู้ถูกกล่าวหา
ให้เตรียมหลักฐานภายใน 15วัน
1 more item...
ไม่มีมูล = ยกข้อกล่าวหา
พนักงานเจ้าหน้าที่
เวลาที่เข้าตรวจ =ตะวันขึ้น-ตก
หรือเวลาเปิดที่นั้นๆ
สิ่งที่ทำ
-ตรวจใบอนุญาตเปิด
-ค้นหรือยึดเอกสาร หลักฐาน
สถานที่ที่ไป
-ที่มีผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลอยู่
-ที่มีเหตุควรเชื่อว่ามีการประกอบวิชาชีพการพยาบาล
-ที่ทำการสอนหรือเชื่อว่าสอนวิชาชีพการพยาบาล
ข้อบังคับว่าด้วย
การรักษาจริยรรรม
การประกอบวิชาชีพ
ปฎิบัติต่อเพื่อนร่วมวิชาชีพ
ให้เกียรติกัน ไม่แกล้งกัน และไม่เอาเคสคนอื่นมาเป็นของตน
ปฎิบัติต่อเพื่อนร่วมงาน
ให้เกียรติกัน ไม่แกล้งกัน และสนับสนุนการทำงานของเพื่อน่วมงาน
ปฎิบัติต่อผุู้รับบริการ
-รักษาตามหน้าที่ ไม่รับเงินพิเศษ
-ไม่ชักจูงให้มาใช้บริการเพื่อหวังผลประโยชน์
-ไม่ขอรับผลตอบแทนในการรับส่งคนไข้
-บริการอย่างสุภาพ และไม่บังคับ
-ไม่หล่อลวงใคร เพื่อหวังผล
-คำนึงถึงความปลอดภัยและค่าใช้จ่ายคนไข้
-ไม่สั่งยามั่ว หรือยาที่เกินหน้าที่
-ไม่ออกใบรับรองอันเป็นเท็จ
-เปิดเผยความลับ เมื่อถูกยินยอม
-ไม่ช่วยคนที่อยู่ใน อตร.
-ไม่ประกอบอาชีพสาธารณะ เว้นเกิดเหตุฉุกเฉิน
ทดลองกับคน
-คนต้องยินยอมก่อน และพร้อมดูแล ป้อองกัน อตร.ให้กับคนทดลองเสมอ
-ปฏิบัติต่อผู้ถูกทดลองเช่นเดียวกับผู้ป่วย
-รับผิดชอบต่อ อตร.ที่เกิดขึ้นกับผู้ทดลอง
-คณะกรรมการวิจัยต้องเห็นชอบก่อน
-ทำตามจรรยาบรรณนักวิจัย
การโฆษณา
-ห้ามโฆษณาตัวเองหรือผู้อื่น
-สิ่งที่ทำได้ เช่น วารสารวิชาการ ผลงานในหน้าที่ ผลงานความก้าวหน้าเพื่อ
การศึกษามวลชน การประกาศเกียรติคุณโดยสถานศึกษา สมาคม
-ข้อความที่สถานประกอบการแสดงได้ เช่นชื่อ คำนึงหน้า วุฒิการศึกษา สาขา เวลาทำการ
-แจ้งความ โดยแจ้งที่อยู่ ที่ตั้ง หมายเลขโทษศัพท์ เป็นต้น
-เผยแพร่ และตอบปัญหาสื่อมวลชนที่แสดงตัวว่าเป็นพยาบาล ต้องไม่แจ้งความ
ประกอบการในที่เดียวกัน
-ระวังไม่ให้การประกอบวิชาชีพเผยแพร่ไปในทำนองโฆษณา
หมวดทั่วไป
-ต้องเคารพกฏหมาย และดำรงตนโดยธรรม
-ไม่เลือกกระทำ
-ไม่ทำเสื่อมเสียต่อวิชาชีพ
น.ส.กรกนก แย้มเจริญ เลขที่ 4 ห้อง B รหัส 63123301005