Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ตัวแปรและสมมติฐาน - Coggle Diagram
ตัวแปรและสมมติฐาน
ประเภทของตัวแปร
ตัวแปรต้น
ใช้ชื่อว่า “ตัวแปรอิสระ”
เป็นอิสระไม่ขึ้นกับตัวแปรตาม
เป็นตัวแปรที่เป็น ต้นเหตุ
มีอิทธิพลต่อตัวแปรตามอีกด้วย
ตัวแปรตาม
ตัวแปรที่เป็นผลตามมาจากการเปลี่ยนแปลงของตัวแปรอิสระ
ตัวแปรเกินหรือตัวแปรแทรกซ้อน
มีลักษณะเหมือนตัวแปรอิสระ
ผู้วิจัยไม่ได้มุ่งศึกษา
ผลการวิจัยมีความคลาดเคลื่อน
สามารถควบคุมได้ เรียกว่า “ตัวแปรควบคุม ”
ความรู้พื้นฐาน
ระดับสติปัญญา
ครูผู้สอน
เนื้อหาที่เรียน
ตัวแปรสอดแทรก
มีลักษณะเหมือนตัวแปรอิสระ
ส่งผลกระทบต่อตัวแปรตาม (โดยตรง)
ไม่สามารถควบคุมได้
ตัวอย่าง
ความวิตกกังวล
ความเครียด
ความเหนื่อย
ความหมายของตัวแปร
คุณลักษณะที่สามารถแปรเปลี่ยนหรือเปลี่ยนค่าได้
ตัวอย่างเช่น
เพศ
ระดับการศึกษา
ผู้วิจัยสนใจศึกษา ซึ่งต้องเปลี่ยนค่าได้อย่างน้อย 2 ค่า
การนิยามตัวแปร
การให้ความหมายของตัวแปรต่าง ๆ ที่เราจะศึกษาทุกตัว
โดยมากจะนิยามเฉพาะตัวแปรอิสระกับตัวแปรตาม
ประเภทของการนิยามตัวแปร
การนิยามทั่วไป
ระบุไว้ในพจนานุกรม สารานุกรม ตามตำรา
เช่น
การตามปกติ
การสอนแบบโครงการ
การนิยามเชิงปฏิบัติการ
สามารถที่จะวัด ตรวจสอบหรือสังเกตได้
เช่น
เจตคติทางวิทยาศาสตร์
การวัดผลการเรียนรู้ วิชาวิทยาศาสตร์
ความหมายของสมมติฐาน
คำตอบของการวิจัยที่ผู้วิจัยคาดคะเนไว้ล่วงหน้าอย่างมีเหตุผล
แสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร 2 ตัวหรือมากกว่า
ประเภทของสมมติฐาน
สมมติฐานการวิจัย
เป็นข้อความที่คาดคะเนคำตอบตามวัตถุประสงค์การวิจัย
แบ่งเป็น
แบบไม่มีทิศทาง
มักจะใช้คำว่า แตกต่างกัน สัมพันธ์กัน
เช่น
ผู้บริหารและครูผู้สอนมีแรงจูงใจแตกต่างกัน
แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนมีความสัมพันธ์กัน
แบบมีทิศทาง
มักจะใช้คำว่า สูงกว่า ดีกว่า มากกว่า ทางบวก
เช่น
ผู้บริหารมีแรงจูงใจสูงกว่าครูผู้สอน
แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนมีความสัมพันธ์กันทางบวก
สมมติฐานทางสถิติ
สามารถทดสอบด้วยวิธีการทางสถิติ
แบ่งเป็น
สมมติฐานกลางหรือสมมติฐานศูนย์
ไม่มีความแตกต่างระหว่างกลุ่ม
ไม่มีความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร
สมมติฐานไม่เป็นกลาง/สมมติฐานทางเลือก
ความแตกต่างระหว่างกลุ่มหรือมีความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร
สมมติฐานการวิจัยไม่มีทิศทาง
สมมติฐานการวิจัยมีทิศทาง
ประโยชน์ของสมมติฐาน
การกำหนดขอบเขตการวิจัย
การกำหนดตัวแปร
การออกแบบการวิจัย
เก็บข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล
ช่วยในการแปลผล
ลักษณะของสมมติฐานที่ดี
สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของการวิจัยและตอบปัญหาการวิจัย
สามารถทดสอบได้ด้วยข้อมูล หลักฐานต่าง ๆ
ใช้ภาษาที่ชัดเจน เข้าใจง่าย และรัดกุม