Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วรรณคดีในสมัยอยุธยาตอนต้น - Coggle Diagram
วรรณคดีในสมัยอยุธยาตอนต้น
ลิลิตโองการแช่งน้ำ
๑.ผู้แต่ง
สมเด็จพระเจ้าบรมวงค์เธอ
กรมพระยาดำรงราชานุภาพทรงสันนิษฐานว่าอาจแต่งในสมัยสมเด็จพระรามาธิปดีที่๑ (อู่ทอง) ผู้แต่งคงจะเป็นผู้รู้พิธีพราหมณ์ และรู้วิธีประพันธ์ของไทยเป็นอย่างดี
๒.คุณค่า
๒.๑
ด้านทางวัฒนธรรม
แสดงถึงการได้รับอิทธิพลวัฒนธรรมจากขอมและอินเดีย
๒.๒
ด้านทางการปกครอง
เกี่ยวกับพระราชพิธีแสดงความจงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์
โคลงทวาทศมาส
๑.ผู้แต่ง
พระเยาวราช ขุนพรมมนตรี ขุนกวีราช ขุนสารประเสริฐ
๒.คุณค่า
เป็นตัวอย่างในการแต่งนิราศของกวีรุ่นหลัง
ลิลิตยวนพ่าย
๑.ผู้แต่ง
ไม่ปรากฏนามผู้แต่ง แต่สันนิษฐานว่าแต่งขึ้นในรัชสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 เพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
๒.คุณค่า
คุณค่าทางประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์
การรบทัพจับศึก ค้านิยมทางสังคม และหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้นอย่างยิ่ง นอกจากนี้ลิลิตยวนพ่ายที่ตกทอดมาถึงปัจจุบัน ซึ่งเป็นวรรณกรรมเก่าที่สมบูรณ์ไม่ชำรุดหรือถูกแต่งเติม ยังมีคุณค่าด้านภาษาศาสตร์ทำให้ได้เห็นถึงวิธีการใช้ภาษา คำสำนวน โวหาร ของกวีสมัยโบราณ และเป็นแบบอย่างของวรรณคดีประเภทสดุดี
มหาชาติคำหลวง
๑ ผู้แต่ง
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
๒ คุณค่า
๒.๑
ทางการปกครอง
เป็นวรรณคดีที่ชี้ให้เห็นถึงการที่ประชาชนมีสิทธิ์มีเสียงในการ ปกครองบ้านเมืองของตน และแสดงให้เห็นถึงความคิดในการปกครองแบบประชาธิปไตย
โคลงนิราศหริภุญไชย
๑ ผู้แต่ง
อาจชื่อทิพย์ หรือ ศรีทิพย์
๒ คุณค่า
ด้านอารมณ์ มีการอาลัยรัก
โคลงกำสรวล
๑ ผู้แต่ง
ศรีปราชญ์
๒ คุณค่า
ด้านสังคม แสดงให้เห็นถงความเป็นอยู่ของประชาชน การแต่งกายและอาหารการกิน
ลิลิตพระลอ
๑ ผู้แต่ง
ไม่ปรากฎนาม
๒ คุณค่า
ด้านภาษา ใช้คำไดเอย่างไพเราะ