Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การวิจัยในชั้นเรียน - Coggle Diagram
การวิจัยในชั้นเรียน
ขอบเขตของการวิจัยในชั้นเรียน
เกณฑ์การแก้ไขปัญหา
สื่อการเรียนการสอนที่เป็นสิ่งประดิษฐ์ (Invention)
กิจกรรมการพัฒนาหรือเทคนิควิธีการสอน (Instruction)
เกณฑ์สภาพการณ์ทางการศึกษา
สภาพการณ์ที่ครูเกี่ยวข้อง เช่น ในห้องเรียน
ความเข้าใจของครูในสิ่งที่ประพฤติปฏิบัติ
บทบาทครูที่เกี่ยวข้อง
เกณฑ์นักเรียน
พฤติกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่าง ๆ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ
เรียนรู้ในเนื้อหาวิชาบางเรื่องช้า
พฤติกรรมส่วนตัวที่เป็นปัญหา
ความก้าวร้าว
ไม่กล้าแสดงออก
เกณฑ์์สื่อการเรียนการสอน
สื่อการสอนประเภทวัสดุอุปกรณ์
ชุดการสอนบทเรียนสำเร็จรูป
สื่อการสอนประเภทวิธีการ
วิธีสอนแบบต่าง ๆ
ความหมายของการวิจัยในชั้นเรียน
ปฏิบัติการหรือดำเนินการโดยครูผู้สอน (Action) เพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น
พัฒนาคุณภาพในการจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียน
พัฒนาผู้เรียนให้เต็มตามศักยภาพ
ประโยชน์ของการวิจัยในชั้นเรียน
พัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรียนการสอนและปรับปรุงวิธีการปฏิบัติงาน
เครื่องมือสำคัญที่ช่วยในการพัฒนาวิชาชีพครูที่ระบบและเชื่อถือได้
การเรียนการสอนได้รับการพัฒนาอย่างถูกต้องเป็นระบบเกิดผลดีแก่นักเรียน
ขั้นตอนการวิจัยในชั้นเรียน
1.การสำรวจและกำหนดปัญหาเพื่อเตรียมเรื่องวิจัย
3.การค้นคว้าและทบทวนเอกสาร
2.การสร้างและพัฒนานวัตกรรมต่าง ๆ
4.การกำหนดตัวแปรและสมมติฐาน
5.การเลือกแบบวิจัยและกำหนดกลุ่มตัวอย่าง (ถ้ามี)
6.การสร้างและพัฒนาเครื่องมือเก็บข้อมูล
7.การวิเคราะห์ข้อมูล
8.การเขียนเค้าโครงและรายงานการวิจัย
ลักษณะของการวิจัยในชั้นเรียน
จุดเริ่มต้นเกิดจากข้อข้องใจในการเรียนการสอนที่ครูพบ ต้องการปรับปรุง/แก้ปัญหา
เป็นปัญหาที่เล็ก แต่มีความหมายสำหรับการเรียนการสอนโดยตรง
สภาพการณ์จริงของห้องเรียนไม่ได้จัดสถานการณ์ใหม่
เน้นผู้เรียน ผู้สอน กระบวนการเรียนการสอน ตลอดจนสภาพแวดล้อมภายในห้องเรียน
ผลการวิจัยไปใช้ปรับปรุง เพื่อให้การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพมากขึ้น
จะทำควบคู่ไปกับการเรียนสอนปกติ
มีการเชื่อมโยงกันระหว่างการคิดเชิงสะท้อน และปฏิบัติอย่างชัดเจน
มีความยืดหยุ่น ปรับให้เหมาะสมกับสภาพการเรียนการสอน
จัดห้องเรียนใหม่ขึ้นมาสำหรับการวิจัยโดยเฉพาะ
ความแตกต่างระหว่างการวิจัยกับการวิจัยในชั้นเรียน
ผู้ทำ
การวิจัยทางการศึกษา : นักวิจัย
การวิจัยในชั้นเรียน : ครู
ปัญหาในการทำวิจัย
การวิจัยทางการศึกษา : น้อย
การวิจัยในชั้นเรียน : มาก
ทรัพยากร
การวิจัยทางการศึกษา : ใช้ทรัพยากรสูง
การวิจัยในชั้นเรียน : ใช้ทรัพยากรต่ำ
ความรู้เรื่องระเบียบวิธีวิจัย
การวิจัยทางการศึกษา : นักวิจัยส่วนใหญ่มีความรู้
การวิจัยในชั้นเรียน : ครูส่วนใหญ่ยังขาดความรู้
การสร้างและพัฒนาเครื่องมือ
การวิจัยทางการศึกษา : สร้างและพัฒนาเครื่องมือตามขั้นตอนมาตรฐาน
การวิจัยในชั้นเรียน : ลดขั้นตอนหรือรายละเอียดบางขั้นตอนได้ตามสภาพการณ์
การวิเคราะห์ข้อมูล
การวิจัยทางการศึกษา : ถ้าเป็นการวิจัยเชิงปริมาณจะเน้นสถิติ
การวิจัยในชั้นเรียน : ไม่เน้นสถิติมากนัก เพราะอาจมีข้อจำกัด เรื่อง จำนวนข้อมูล