Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พยาธิสรีรวิทยาของ ระบบทางเดินหายใจ - Coggle Diagram
พยาธิสรีรวิทยาของ
ระบบทางเดินหายใจ
Covid - 19 Pneumonia
อาการ
ส่วนใหญ่ไม่มีอาการ
ในผู้ที่มีอาการอาจมีการติดเชื้อไวรัสหรือปอดอักเสบ
เชื้อที่ทำให้เกิดโรค
Typical bacteria
M. Cararrhalis
S. Aureus
H. Influenza
Gram- negative bacteria
S. Pneumoniae
Microaerophilic bacteria & anaerobes
Atypical bacteria
M. Pneumoniae Chlammydia pneumonia
Chlamydia psittacosis
Coxiella burnetii
Legionella app.
Respiratory virus
Human metapneumovirus
Coronaviruses
Respiratory syncytial virus
Adenoviruses
Parainfluenza viruses
Influenza A & B viruses
Human boca viruses
Rhinoviruses
ระยะฟักตัว
การติดต่อ : Droplets
Air borne (เฉพาะเมื่อเกิด aerosal เช่น พ่นยา )
Direct contact
เฉลี่ย 4-5 วัน (2-14 วัน)
การวินิจฉัย
การแทรกซึมของปอดใหม่
อาจเป็นเรื่องยาก : pts กับโรคปอดเรื้อรัง ถุงลมโป่งพอง โรคอ้วนจากการติดเชื้อในช่วงต้น ภาวะขาดน้ำอย่างรุนแรง
≥ 3|5 ของอาการและอาการแสดงไข้ ไอ หรือมีเสมหะ หายใจลำบาก อาการเจ็บหน้าอก เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เริ่มมีอาการเฉียบพลัน ระยะเวลา ≤ 2 สัปดาห์
การแพร่กระจาย
การรักษา
Beta - lactam group สำหรับ typical bacteria
Macrolide group / Doxycycline สำหรับ Atypical bacteria
Oseltamivir สำหรับไวรัส influenza
ใช้ระยะเวลาการให้ยาอย่างน้อย 5 วัน
COVID - 19
SARS - CO - V
RNA virus สามารถก่อโรคทางเดินหายใจและทางเดินอาหาร ส่วนใหญ่อาการน้อย มีเพียงบางสายพันธ์ที่มีความรุนแรง
MERS - CO - V
สรีรวิทยาของการหายใจ
โครงสร้าง
โครงสร้างของปอดมีลักษณะเอื้อต่อการทำหน้าที่ของมัน
หน้าที่
สร้างและขจัดสารเคมีบางชนิด การกรองสิ่งแปลกปลอม
แลกเปลี่ยนก็าซ
ขจัดคาร์บอนไดออกไซด์
นำออกซิเจนเข้าสู่เลือด
ออกซิเจนในเลือดอยู่ที่ไหนได้บ้าง
ละลายในส่วนที่เป็นของเหลว 3 %
จับกับฮึโมโกลบินที่ที่อยู่ในเม็ดเลือด 97 %
การขนส่งออกซิเจน
Oxygen ละลายน้ำได้ไม่ดี แต่จับกับฮีโมโกลบินได้ดี
ละลายใน plasma วัดได้จากการเจาะ ABG
จับกับฮีโมโกลบินในเม็ดเลือดแดง วัดได้จากการจับ pulse O2 saturation
อาการวิทยาระบบการหายใจ
อาการไอ
ความหมาย
เป็นกลไกลป้องกันเชื้อโรค
ประเภทของอาการไอ
ไอแบบมีเสมหะ มักพบในโรคหลอดลม การติดเชื้อแบคทีเรีย
ไอแห้ง มักพบในโรคหืด ภูมิแพ้ วัณโรคปอด ผลข้างเคียงจากการทานยากลุ่ม ACE inhibitor
ไอเป็นเลือด โรคมะเร็งของหลอดลม การติดเชื้อ โดยเฉพาะวัณโรค
อาการเขียวคล้ำ
ความหมาย
เขียวคล้ำบริเวณปลายมือ ปลายเท้า เยื่อบุผิว หนังตา ลิ้น กระพุ้งแก้ม ริมฝีปากด้านใน
สาเหตุ
ริมฝีปาก ลิ้นม่วง Central Cyanosis เกิดเมื่อ Arterial Desaturation
ปลายมือ ปลายเท้าม่วง Peripheral Cyanosis มีการใช้ออกซิเจนส่วนปลายมากกว่าปกติ
โรคหัวใจ โรคปอด ทำให้การจับออกซิเจนกับฮีโมโกลบินน้อยลง พบในโรคหัวใจพิการแต่กำเนิด
อาการหายใจลำบาก
ความหมาย
ความรู้สึกหายใจได้ลำบาก ต้องใช้ความพยายามในการหายใจ เกิดในขณะพักหรือระหว่างการทำกิจกรรมที่ไม่ตัองออกแรงมากนักหรือเคยทำได้
กลไกลของอาการหายใจลำบาก
สาเหตุที่พบบ่อย
โรคหัวใจ
โรคปอด
โรคเลือดและ metabolism
สาเหตุของอาการหายใจลำบาก
Sensors เช่น การได้รับสารพิษ
Effectors เช่น กล้ามเนื้ออ่อนแรง ระบบหายใจ ระบบไหลเวียนเลือด
Central controller เช่น อุบัติเหตุเกี่ยวกับสมอง ศูนย์การหายใจถูกกระตุ้นหรือถูกกด
อาการเจ็บหน้าอก
ลักษณะการเจ็บหน้าอก
Cardiac : บีบรัดหน้าอกหนักๆ เหมือนกับถูกทับร้าวไปแขน
Pleura : เจ็บแปลบๆ (Sharp Pain) เจ็บสัมพันธ์กับการเจ็บหน้าอกร่วมอาการไอ
Chest wall : ปวดแสบร้อนตามแนวเส้นประสาท เช่น งูสวัด
GI Tract : ปวดท้องลิ้นปี่ กรดไหลย้อน
อาการนิ้วปุ้ม
ความหมาย
การพร่องออกซิเจนเรื้อรัง เกิดการเจริญเติบโตผิดปกติของเนื้อเยื่อเล็บ หลอดเลือดฝอยและเนื้อเยื่อขยายตัว มักพบในหัวใจแต่กำเนิด ปอดอักเสบเรื้อรัง
การหายใจล้มเหลวเฉียบพลัน
Hypercapnea
เป็นภาวะที่คาร์บอนไดออกไซด์ในปอดและในเลือดสูงกว่าปกติ PaCO2 > 45 mmHg
สาเหตุ
Hypoventilation : หายใจช้าไป หรือหายใจยาวไป
มีความผิดปกติที่ deadspaca เพิ่มขึ้น เช่น
โรคถุงลมโป่งพองที่รุนแรง (Severe emphysema)
มีการสร้าง CO2 มากกว่าปกติ เช่น ภาวะ sepsis
Pulmonary edema
ภาวะที่มีความดันใน pulmonary capillary เพิ่มขึ้น นำไปสู่การรั่วของขเงเหลวไปสู่ชั้น interstitium และอาจผ่านไปสู่ถึงลมได้
Hypoxemia
คือ ภาวะที่เนื้อเยื่อในร่างกายขาดออกซิเจน ซึ่งเป็นผลมาจากที่ร่างกายมีปริมาณออกซิเจนในเลือดต่ำกว่าปกติ (Hypoxemia) จึงทำใหเลือดไม่สามารถนำออกซิเจนไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกาย จนทำให้ร่างกายแสดงความผิดปกติ เช่น ผิวหนังเขียวซีด เหงื่ออกมาก หายใจผิดปกติ
สาเหตุ
Hypoventilation : การหายใจช้าทำให้การระบายอากาศลดลง ส่งผลให้ PaCO2 สูง
Decrease PlO2 : เช่น การอยู่บนที่สูง
Diffusion limitations : การแพร่ผ่านผนังถุงลมเสียไป
V/Q mismatch : มีการระบายอากาศหรือการไหลเวียนเลือดที่ลดลง
Shunt : มีพยาธิสภาพที่ส่งผลให้ไม่เกิดการแลกเปลี่ยนก๊าซ
Hypoxemia
Decrease Oxygen in blood
Hypoxia
Decrease Oxygen supply to tissues
Atelectasis
ภาวะที่ถุงลมปอดไม่สามารถขยายได้ปกติ ส่งผลให้ถุงลมปอดส่วนที่แฟบไม่สามาถแลกเปลี่ยนก๊าซได้อย่างปกติ
นิยาม
ภาวะที่ปอดไม่สามารถนำออกซิเจนเข้าสู่เลือดและไม่สามารถระบายคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือดออกจากร่างกายผ่านการหายใจได้
Peioperative respiratory failure
ภาวะหายใจล้มเหลวขณะผ่าตัด
Acute Hypercapnia respiratory failure
PaO2 > 50 mmHg
Acute Circulatory failure
ระบบไหลเวียนโลหิตล้มเหลวเฉียบพลัน ในผู้ป่วยเสียเลือด มีภาวะช็อก
Acute Hypoxemic respiratory failure
PaO2 จาก ABG < 60 mmHg ร่วมกับมี PaCO2 ปกติ หรือต่ำ
Ventilator supply and demand
demand ปริมาณการหายใจที่ทำให้เกิดการระบายอากาศที่เพียงพอไม่เกิดภาวะ PaCO2 ในเลือดสูงกว่าปกติ
Supply จะมากกว่า demand
Suppply ความสามารถสูงสุดของร่างกายในการหายใจ โดยไม่เกิดการอ่อนล้าของกล้ามเนื้อ
อาการแสดงจากภาวะพร่องออกซิเจน : อาการทางระบบหัวใจและหลอดเลือด
Hemoglobin desaturation : Cyanosis อาการทางระบบประสาทส่วนกลาง
ปวดศีรษะ การตัดสินใจไม่ถูกต้อง กระสับกระส่าย ซึม สับสน
อาการทางระบบหายใจ “กระตุ้นศูนย์หายใจให้หายเร็วและแรงมากขึ้น
ผลที่ตามมาของการเกิดหากไม่ได้รับการแก้ไข คือ เซลล์ได้รับันตรายและอวัยวะต่างๆเกิดการล้มเหลว เช่น ความดันโลหิตต่ำ ไตวาย สมองเสียหายถาวร
กระตุ้นระบบประสาทซิมพาเทติกทำให้ความดันเปลี่ยนแปลง หัวใจเต้นแรงขึ้น