Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วิเคราะห์ปรัชญาการศึกษาไทย และ เอกสารสำคัญที่เกี่ยวกับการศึกษา,…
วิเคราะห์ปรัชญาการศึกษาไทย
และ
เอกสารสำคัญที่เกี่ยวกับการศึกษา
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560
หมวด4 หน้าที่ของปวงชนชาวไทย
มาตรา 50 เข้ารับการศึกษาอบรมในการศึกษาภาคบังคับ
หมวด5 หน้าที่ของรัฐ
มาตรา54 รัฐต้องกำเนินการให้เด็กไดเรับการศีกษาเป็นเวลา12ปี กตั้งแต่ก่อนวัยเรียนจนจบการศึกษาภาคบังคับโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย
รัฐต้องดำเนินการให้ประชาชนได้รับการศึกษาตามความต้องการในระบบต่างๆ
จัดตั้งกองทุนเพื่อใช้ในการช่วยเหลือผู้ขาดแคลทุนทรัพย์เพื่อลดความเหลื่อมล้ำในการศึกษา
หมวดที่ 16 การปฎิรูปประเทศ
มาตรา258 ให้ดำเนินการปฎิรูปประเทศอย่างน้อยในด้านต่างๆ
ด้านการศึกษา
เด็กเล็กได้รับการดูแลและพัฒนาก่อนเข้ารับการศึกษา
ให้ดำเนินการเพื่อจัดตั้งกองทุน
มีกลไกระบบการผลิต คัดกรองและพัฒนาผู้ประกอบวิชาชีพครูและอาจารย์
ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนทุกระดับ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ.2560-2564
ภาพรวมการพัฒนาในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12
1.3 ประเด็นการพัฒนาหลักที่สำคัญในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12
1.3.2 การส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัยและพัฒนา วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี
และนวัตกรรม
1.3.3 การเตรียมพร้อมด้านกำลังคนและการเสริมสร้างศักยภาพของประชากร
ในทุกช่วงวัย
1.3.4 การสร้างความเป็นธรรมและลดความเหลื่อมล้ำ
การประเมินสภาพแวดล้อมการพัฒนาประเทศ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ
4.1 การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย
4.2 ยุทธศาสตร์การสร้างความเป็นธรรมและลดความเหลื่อมล้ำในสังคม
4.5 ยุทธศาสตร์การเสริมสร้างความมั่นคงแห่งชาติเพื่อการพัฒนาประเทศสู่ความมั่งคั่ง
และยั่งยืน
พระราชบัญญัติการศึกษาไทย 2542 และฉบับปรับปรุงแก้ไข (ฉบับที่ 2-4)
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า
มาตรา 1 พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
มาตราที่ 2 พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
มาตราที่ 3 บรรดาบทกฎหมาย กฎ ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ และคำสั่งอื่นในส่วนที่ได้
บัญญัติไว้แล้วในพระราชบัญญัติ
มาตราที่4 ให้คำจำกัดความ การศึกษา
มาตราที่ 5 ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
หมวดที่1 บททั่วไป
มาตรา 6 การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ
มาตรา 7 ในกระบวนการเรียนรู้ต้องมุ่งปลูกฝังจิตส านึกที่ถูกต้องเกี่ยวกับการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย
มาตรา 9 มาตรา ๙ การจัดระบบ โครงสร้าง และกระบวนการจัดการศึกษา
มาตรา 8 การจัดการศึกษา เป็นการศึกษาตลอดชีวิตส าหรับประชาชน /ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา/การพัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรู้ให้เป็นไปอย่างต่อเนื่อง
หมวด2 สิทธิและหน้าที่ทางการศึกษา
มาตรา 10 การจัดการศึกษา ต้องจัดให้บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกัน
มาตราที่ 12 สถาบันสังคมอื่น มีสิทธิใน
การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ทั้งนี้ให้เป็นไปตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
มาตรา 11 บิดา มารดา หรือผู้ปกครองมีหน้าที่จัดให้บุตรหรือบุคคลซึ่งอยู่ในความดูแลได้รับการศึกษาภาคบังคับ
มาตราที่14สถาบันสังคมอื่น ซึ่งสนับสนุนหรือจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีสิทธิได้รับสิทธิ
ประโยชน์ตามควรแก่กรณี
มาตรา 13 บิดา มารดา หรือผู้ปกครองมีสิทธิได้รับสิทธิประโยชน์
หมวด 3 ระบบการศึกษา
มาตรา 15 การจัดการศึกษามีสามรูปแบบ คือ การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
มาตรา16 การศึกษาในระบบมีสองระดับ คือ การศึกษาขั้นพื้นฐาน และการศึกษาระดับอุดมศึกษา
มาตรา 18 การจัดการศึกษาปฐมวัยและการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรา 19 การจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาให้จัดในมหาวิทยาลัย สถาบัน วิทยาลัยนี้ ให้เป็นไปตามกฎหมายเกี่ยวกับสถานศึกษาระดับอุดมศึกษา
มาตรา 20 การจัดการอาชีวศึกษา การฝึกอบรมวิชาชีพ ให้จัดในสถานศึกษาของรัฐสถานศึกษาของเอกชน
มาตรา 21 จัดการศึกษาเฉพาะทางตามความต้องการและความชำนาญของหน่วยงานนั้นได
หมวดที่4 แนวการจัดการศึกษา
มาตรา 22 การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมี ความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้
มาตรา 23 การจัดการศึกษา ทั้งการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย ต้องเน้นความสำคัญทั้งความรู้ คุณธรรม
มาตรา 24 การจัดกระบวนการเรียนร
มัาตราที่25 รัฐต้องส่งเสริมการด าเนินงานและการจัดตั้งแหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตทุกรูปแบบ
มาตรา 26 ให้สถานศึกษาจัดการประเมินผู้เรียนโดยพิจารณาจากพัฒนาการของผู้เรียนความประพฤติ
มาตรา 27 กำหนดหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อความเป็นไทย
มาตรา 28 หลักสูตรการศึกษาระดับต่าง ๆ รวมทั้งหลักสูตรการศึกษาส าหรับบุคคลตาม
1 more item...
หมวดที่5 การบริหารและการจัดการศึกษา
ส่วนที่1
มาตรา 31กระทรวงมีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการส่งเสริม และกำกับดูแลการศึกษาทุกระดับและทุกประเภท
มาตรา 32การจัดระเบียบบริหารราชการในกระทรวงให้มีองค์กรหลักที่เป็นคณะบุคคลในรูปสภา
มาตรา 33 หน้าที่ของสภาการศึกษา
มาตรา 34 หน้าที่ของคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรา 35 องค์ประกอบของคณะกรรมการตามมาตรา 35
มาตรา 36 ให้สถานศึกษาของรัฐที่จัดการศึกษาระดับปริญญาเป็นนิติบุคคล
1 more item...
ส่วนที่2
มาตรา 41 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีสิทธิจัดการศึกษาในระดับใดระดับหนึ่ง
มาตรา 42 ให้กระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินความพร้อม
มาตรา 43 การบริหารและการจัดการศึกษาของเอกชนให้มีความเป็นอิสระ
มาตรา 44 ให้สถานศึกษาเอกชนตามมาตรา 18
มาตรา 45 ให้สถานศึกษาเอกชนจัดการศึกษาได้ทุกระดับและทุกประเภท
มาตรา 46 รัฐต้องให้การสนับสนุนด้านเงินอุดหนุน การลดหย่อนหรือการยกเว้นภาษ
หมวดที่ 6 มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา
มาตรา 47 ให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพ
มาตรา 48 ให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
มาตรา 49 ให้มีสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา
มาตรา 50 ให้สถานศึกษาให้ความร่วมมือในการจัดเตรียมเอกสารหลักฐานต่าง ๆ
มาตรา 51 ผลการประเมินภายนอกของสถานศึกษา
หมวดที่ 7 ครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
มาตรา 52 ให้กระทรวงส่งเสริมให้มีระบบ กระบวนการผลิต การพัฒนาครู คณาจารย์
มาตรา 53 ให้มีองค์กรวิชาชีพครู ผู้บริหารสถานศึกษา และผู้บริหารการศึกษา มีฐานะเป็นองค์กรอิสระภายใต้การบริหารของสภาวิชาชีพ
มาตรา 54 ให้มีองค์กรกลางบริหารงานบุคคลของข้าราชการครู
มาตรา 55 ให้มีกฎหมายว่าด้วยเงินเดือน ค่าตอบแทน สวัสดิการ และสิทธิประโยชน์เกื้อกูลอื่น
มาตรา 56 การผลิตและพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา การพัฒนา มาตรฐานและจรรยาบรรณของวิชาชีพ
มาตรา 57 ให้หน่วยงานทางการศึกษาระดมทรัพยากรบุคคลในชุมชนให้มีส่วนร่วม
มาตรา 58 ให้มีการระดมทรัพยากรและการลงทุนด้านงบประมาณ การเงิน และทรัพย์สินทั้งจากรัฐ
1 more item...
หมวดที่ 7เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
มาตรา 63 รัฐต้องจัดสรรคลื่นความถี่
มาตรา 64 รัฐต้องส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการผลิต และพัฒนาแบบเรียน
มาตรา 64 ให้มีการพัฒนาบุคลากรทั้งด้านผู้ผลิต และผู้ใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
มาตรา 66 ผู้เรียนมีสิทธิได้รับการพัฒนาขีดความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
มาตรา 67 รัฐต้องส่งเสริมให้มีการวิจัยและพัฒนา
มาตรา 68 ให้มีการระดมทุน เพื่อจัดตั้งกองทุนพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
มาตรา 69 หน้าที่ของหน่วยงานกลาง
1 more item...
แผนการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2560-2579
สภาวการณ์และบริบทแวดล้อมที่มีผลต่อการพัฒนาการศึกษาของประเทศ
ความท้าทายที่เป็นพลวัตของโลกศตวรรษที่ 21
ทั้งในส่วนที่เป็นแรงกดดันภายนอก
การเปลี่ยนแปลงของบริบทเศรษฐกิจและสังคมโลก
การเปลี่ยนแปลงสู่อุตสาหกรรม 4.0
ผลการพัฒนาการศึกษาในช่วงปี2552-2559
ไทยประสบความสำเร็จในหลายด้าน และมีอีกหลายด้านยังเป็นปัญหาที่ต้องได้รับการพัฒนาอย่างเร่งด่วนในระยะต่อไป
แนวคิดการจัดการศึกษา
Education for Al
Inclusive Education
Sufficiency Economy
All for Education
SustainableDevelopment Goals : SDGs 2030
วิสัยทัศน์
"คนไทยทุกคนได้รับการศึกษาและเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพดำรงชีวิต อย่างเป็นสุข สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการเปลี่ยนแปลงของโลกศตวรรษที่ 21"
3Rs/8Cs
6 ยุทธศาสตร์หลักที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ20 ปี
การจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของสังคมและประเทศชาติ
การผลิตและพัฒนาก าลังคน การวิจัย และนวัตกรรรม เพื่อสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัย และการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษา
การจัดการศึกษาเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการศึกษา
แนวทางการขับเคลื่อนแผนการศึกษาแห่งชาติสู่การปฏิบัต
การสร้างความรู้ความเข้าใจให้ทุกภาคส่วนได้ตระหนักถึงความสำคัญ
รสร้างความเชื่อมโยงระหว่างแผนการศึกษาแห่งชาต
การปรับปรุงกฎ ระเบียบ และกฎหมายต่าง ๆ
ให้ประชาสังคมมีโอกาสแสดงความคิดเห็น
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580)
ยุทธศาสตร์ชาติด้าน
การพัฒนา
และเสริมสร้าศักยภาพ
ทรัพยากรมนุษย์
ปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้เพื่อศตวรรษที่ 21
ปรับเปลี่ยนการเรียนรู้
เปลี่ยนโฉมครูยุคใหม่
เพิ่มประสิทธิภาพระบบการบริหาจัดการศึกษาในทุกประเภท
พัฒนาการเรียนรู้ตลอดชีพ
รองรับการเรียนรู้โดยใช้ดิจิทัลแพลตฟอร์ม
ตระหนักถึงบทบาทความรับผิดชอบ
สร้างระบบการศึกษาเป็นเลิศทางวิชาการ
การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม
ลดความเหลื่อมล้ำสร้างความเป็นธรรม
สร้างความเป็นธรรมในการเข้าถึงการศึกษา
2.2 สถานการณ์และแนวโน้มภายใน
2.2.3 สถานการณ์และแนวโน้มของสังคมไทย