Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ชายไทย อายุ 75 - Coggle Diagram
ชายไทย อายุ 75
20 ปีก่อน มีอาการไอเรื้อรัง มีเสมหะ เหนื่อยง่าย แพทย์วินิจฉัยเป็นโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง COPD
พยาธิสภาพ
เมื่อหลอดลมได้รับการระคายเคืองบ่อยๆจะทำให้เยื่อบุหลอดลมโดยเฉพาะต่อมเมือก (Mucous gland) หลังสารคัดหลั่งออกมาต่อมาเซลล์จะมีขนาดใหญ่และเพิ่มจำนวนมากขึ้นทำให้ผนังหลอดลมหนาตัวขึ้นและความยืดหยุ่นเสียไปท่อหลอดลมจะตีบแคบลงผู้ป่วยที่สูบบุหรี่หรือได้รับควันบุหรี่จะทำให้เซลล์เยื่อบุหลอดลมเคลื่อนไหวได้น้อยลงต่อมและเซลล์เมือกไม่สามารถขับมูกจำนวนมากที่เหนียวออกไปได้ส่วนโรคถุงลมปอดโป่งพองเกิดจากมีการระคายเคืองของเยื่อบุหลอดลมเป็นเวลานานเมือกที่ฉาบอยู่บนผิวของหลอดลมถูกทำลายทำให้ผนังหลอดลมหนาตัวขึ้นและกลายเป็นแผล จึงทำให้สารที่เป็นอันตรายต่าง ๆ รวมทั้งเชื้อแบคทีเรียและไวรัสสามารถแทรกเข้าสู่เซลล์ของหลอดลมมีการอักเสบและสร้างเสมหะออกมามากและเมื่อกลไกการขับเสมหะตามปกติถูกทำลายไปจะทำให้เสมหะที่สร้างขึ้นนั้นจับตัวกันเป็นก้อนอุดกั้นหลอดลมไว้ อากาศผ่านเข้า-ออกจากถุงลมไม่ได้จึงดันให้ถุงลมโป่งออก ถุงลมสูญเสียความยืดหยุ่นคือยืดได้หดไม่ได้เมื่อมีการคั่งของอากาศนาน ๆ เข้าถุงลมจะยิ่งโป่งออกจนมีการฉีกขาดและหลอดเลือดบริเวณนั้นถูกทำลายพื้นผิวในการแลกเปลี่ยนก๊าซลดลงมีการคั่งของคาร์บอนไดออกไซด์ส่วนออกซิเจนในหลอดเลือดดำจะลดลงหัวใจซีกขวาจำทำงานหนักซึ่งเป็นสาเหตุทำให้เกิดหัวใจซีกขวาล้มเหลวเรียกภาวะนี้ว่าคอร์พูลโมเนล (Corpulmonale)
สาเหตุ
สูบบุหรี่
ผู้ป่วยมีประวัติ
ญาติบอกเมื่อก่อนสูบ 4 ซอง/วัน ปัจจุบันเลิกสูบ 15 ปีแล้ว
มลภาวะอากาศเป็นพิษ
อาการและอาการแสดง
ไอเรื้อรัง
มีเสมหะเรื้อรัง
หายใจหอบเหนื่อย
ฟังพบเสียง Wheez
อกถังเบียร์
ปัจจุบันผู้ป่วยมีอาการ
เดินนานๆใช้แรงเยอะๆจะเหนื่อย
เหนื่อยง่าย
ไม่พบเสียงWheez
อกถังเบียร์
ข้อวินิจฉัย
ความทนต่อการทำกิจกรรมลดลงเนื่องจากมีการแลกเปลี่ยนO2ลดลง
รักษา
เลิกสูบบุหรี่/เลี่ยงควันธูป
ข้อวินิจฉัย
เสี่ยงต่ออาการกำเริบได้เนื่องจากมีปัจจัยที่ทำให้เลี่ยงไม่ได้
พ่นยา salvo inhaler เมื่อรู้สึกเหนื่อย
กินยาตามแพทย์สั่ง
ภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น
ภาวะหัวใจซีกขวาล้มทเหลว
น้ำหนัก 75 กิโลกรัม ส่วนสูง 163 เซนติเมตร BMI 28.23 กิโลกรัม/ตารางเมตร อ้วน / โรคอ้วนระดับ 2
ข้อวินิจฉัย
มีภาวะโภชนาการเกินและท้องผูกเนื่องพฤติกรรมการดูแลตนไม่เหมาะสม
พร่องการสื่อสารเนื่องจากหูเสื่อมสภาพตามวัย
ไม่ค่อยได้ยินต้องพูดดังๆ
ตอบเป็นคำๆ ไม่เป็นประโยค