Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อิทธิพลของอาณาจักรโบราณที่มีต่อสังคมไทย - Coggle Diagram
อิทธิพลของอาณาจักรโบราณที่มีต่อสังคมไทย
ด้านภาษาและกฎหมาย
ด้านกฎหมาย
กฎหมายอยุธยา(กฎหมายตราสามดวง)
กฎหมายมังรายศาสตร์
กฎหมายพื้นเมือง
ด้านภาษา
มีการประดิษฐ์อักษรไทยขึ้นดัดแปลงจากตัวอักษรที่ใช้สมัยโบราณ
ภาษาต่างๆ
ภาษาเขมร
ภาษามอญ
ภาษาปัลลวะ
ภาษาบาลี
ภาษาสันสกฤต
ด้านศิลปกรรม
ด้านสถาปัตยกรรม
เจดีย์
ด้านประติมากรรม
รูปปั้นแกะสลัก
ธรรมจักร
เทวรูป
โบสถ์
อนุสาวรีย์
พระปรางค์
ด้านวรรณกรรม
ราชาธิราชของชาวมอญ
อิเหนาจากชวา
ด้านศิลปวิทยา
การทำเครื่องสังคโลกจากช่างชาวจีน
ด้านศาสนาและความเชื่อ
การนับถือศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
นับถือควบคู่ไปกับพระพุทธศาสนา
มีอิทธิพลต่อคนพื้นเมืองเดิม
การนับถือพระพุทธศาสนา
เป็นศาสนาประจำชาติมาตั้งแต่สมัยสุโขทัย
เกิดขึ้นหลังจากตั้งสุโขทัยเป็นราชธานี
อาณาจักโบราณในดินแดนไทย
ศรีลังกา
อาณาจักรล้านนา
ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของประเทศไทย
นับถือพุทธศาสนานิกายเถรวาท
จีน
อาณาจักรนามเวียด
แบ่งแยกเหนือ-ใต้
พม่า
อาณาจักรพุกาม
มีการปกครองระบบศักดินา
พุทธศาสนาเจริญรุ่งเรืองถึงขีดสุด
นับถือพุทธศาสนาแบบตันตริที่เชื่อไสยศาสตร์
เขมรและทวารวดี
อาณาจักรศรีจนาศะ
นับถือศาสนาพราหมณ์
ขอม
อาณาจักรละโว้
มีแนวคิดเทวราชา
นับถือศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
นับถือศาสนาพุทธแบบมหายาน
อินโดนีเซีย(ชวา)
อาณาจักรสิงหัสสาหรี
ศาสนาพุทธมหายาน
ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
อาณาจักรมัชปาหิต
ใช้กำลังทางทหารแทนการใช้ความเชื่อทางศาสนา
ดัดแปลงกฎหมายชวาเดิมผสมผสานกับคัมภีร์ธรรมศาสตร์ของอินเดีย
อาณาจักรมะตะรัม
ศาสนาพุทธมหายาน
ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
ฝรั่งเศส
อาณาจักรล้านช้าง
อาณาจักรของชนชาติลาว
ลุ่มแม่น้ำโขง
อาณาจักรศรีโคตรบูรณ์
นับถือพระพุทธศาสนานิกายเถรวาทตามแบบทวารวดี
บูชาพญานาค
อินเดีย
อาณาจักรทวารวดี
นับถือศาสนา
ศาสนาพุทธแบบเถรวาท
ศาสนาพุทธแบบมหายาน
รับแผนการปกครองจากอินเดีย
สังคมเกษตรกรรม
อาณาจักรจามปา
ศาสนาพราหมณ์ลัทธิไศวนิกาย
ศาสนาอิสลาม
อาณาจักรขอม
แนวคิดแบบเทวราชาหรือสมมติเทพ
ศาสนา
ศาสนาพุทธมหายาน
ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
อาณาจักรหริภุญไชย
เป็นอาณาจักรของมอญ
นับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาท
อาณาจักรศรีเกษตร
อารยะธรรมลุ่มน้ำอิระวดี
อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรทางทะเล
ระยะแรกนับถือพราหมณ์ – ฮินดู,พุทธมหายาน
อาณาจักรเจนละ
2 ฝ่าย
ฝ่ายใต้เรียกว่าเจนละน้ำ
ฝ่ายเหนือเรียกว่าเจนละบก
อาณาจักรฟูนัน
ปกครองแบบเทวราชา
ชาวบ้านยึดมั่นในขนบประเพณีเดิม
อาณาจักรศรีวิชัย
เจริญรุ่งเรืองทางการค้าทางทะเล (ช่องแคบมะละกา)
ด้านรูปแบบการปกครอง
พิธีกรรมและการปฏิบัติต่างๆที่เกี่ยวข้องกับกษัตริย์
พระราชพิธีบรมราชาภิเษก
เชื่อว่ากษัตริย์เป็นสมมติเทพ
การปกครองระบอบกษัตริย์
รับรูปแบบการปกครองมาจากอินเดีย