Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การรักษาด้วยไฟฟ้า (Electroconvulsive therapy) - Coggle Diagram
การรักษาด้วยไฟฟ้า (Electroconvulsive therapy)
ข้อบ่งชี้
1.ผู้ป่วยที่มีภาวะซึมเศร้ารุนแรงเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย
5.ผู้ป่วยที่ทนต่อผลข้างเคียงของยาไม่ได้
2.ผู้ป่วยที่มีอาการทางจิตรุนแรงและมีพฤติกรรมก้าวร้าว
3.โรคอารมณ์แปรปรวนระยะคลุ้มคลั่ง
4.โรคจิตเภทในระยะเฉียบพลัน
ข้อห้าม
ภาวะที่มีความดันในกะโหลกศีรษะเพิ่มขึ้น เช่น โรคหลอดเลือดสมอง เนื้องอกในสมอง
โรคปอดที่ทำให้การหายใจลำบาก เช่น TB
4.ภาวะกระดูกพรุน
ผู้สูงอายุที่ร่างกายไม่แข็งแรง
โรคระบบหัวใจและหลอดเลือด เช่น โรคกล้ามเนื้อหัวใจตาย
ไข้สูง
3.ความดันโลหิตสูง BP สูงกว่า 140/90 mmHg
คือ การรักษาผู้ป่วยที่มีความผิดปกติทางจิตโดยใช้กระแสไฟฟ้าจากเครื่องทำการรักษาด้วยไฟฟ้าในปริมาณที่เหมาะสม
ประเภทของการรักษาด้วยไฟฟ้า (Electroconvulsive therapy) มี 2 ประเภท
1.Unmodified ECT การรักษาด้วยไฟฟ้าที่ไม่ใช้ยาระงับความรู้สึกหรือยาสลบ และยาคลายกล้ามเนื้อช่วยในการรักษา
2.Modified ECT การรักษาด้วยไฟฟ้าที่ใช้ยาระงับความรู้สึก หรือยาสลบ และยาคลายกล้ามเนื้อช่วยในการรักษา
อาการแทรกซ้อน
1.ขณะทำการรักษาด้วยไฟฟ้า
1.1 ผลกระทบต่อหัวใจและหลอดเลือด
1.2ผู้ป่วยหยุดหายใจนาน
1.3 การชักยาวนาน
2.หลังทำการรักษาด้วยไฟฟ้าช่วงสั้น
2.1 ทำให้มีอาการปวดศีรษะ เป็นอาการข้างเคียงที่พบบ่อยมาก
2.5 แผลในปาก แผลที่ลิ้น
2.2 อาการคลื่นไส้อาเจียน
2.3 อาการสับสน มึนงง
2.4 ฟันหัก
2.6 หลงลืม สูญเสียความทรงจำ
หลักการพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รบการรักษาด้วยไฟฟ้า
สิทธิผู้ป่วยในการรับรู้ข้อมูลข่าวสารก่อนและหลังทำ
การมีส่วนร่วมของญาติในการรับทราบทำความเข้าใจ
คำนึงถึงความปลอดภัยจากผลข้างเคียงการรักษา
การให้กำลังใจในการรับการรักษาด้วยไฟฟ้า
การพยาบาล
2 อธิบายขอความร่วมมือระหว่างทำการรักษา
จัดเสื้อผ้าผู้ป่วยให้เป็นระเบียบเพื่อป้องกันการเปิดเผยร่างกาย
1.ตรวจสอบความถูกต้องของชื่อ นามสกุลผู้ป่วย
5 ดูแลให้ออกซิเจน O2 canular 4 L/mi
ใส่แผ่นยางกันกัด เพื่อป้องกันการกัดลิ้นและริมฝีปาก
3.จัดท่าผู้ป่วยให้นอนหงายราบ แขนแนบลำตัว วางหมอนทราย
จัดบุคลากรประคองร่างกายผู้ป่วย 5 คน
ระยะของการชัก
1.ระยะหมดสติ ผู้ป่วยไม่รู้สึกตัว 1-2 วินาที
6.ระยะสับสน มีอาการงง สับสน วนกระวาย 15-30 นาที ควรเฝ้าระวังอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้นกับผู้ป่วย
ระยะหลับ ผู้ป่วยหลับนาน 5 นาที ไม่เจ็บปวด ไม่รู้ว่ามีอาการชัก
2.ระยะเกร็ง กล้ามเนื้อจะเกร็ง ผู้ป่วยกัดลิ้น กัดปากตัวเอง 5-15 วินาที
ระยะหยุดหายใจ ใช้เวลา 1-2 วินาที
3.ระยะกระตุก กระตุกที่หัวตาแล้วกระตุกทั่วตา นิ้วมือนิ้วเท้ากระตุก 15-30 วินาที