Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
นางสาว สุวพัชร คงถาวร อายุ 21 ปี น้ำหนัก 41 กิโลกรัม ส่วนสูง 150 เซนติเมตร…
นางสาว สุวพัชร คงถาวร อายุ 21 ปี น้ำหนัก 41 กิโลกรัม ส่วนสูง 150 เซนติเมตร BMI = 18.2กิโลกรัม/ตารางเมตร น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ (ผอม)
ไวรัสตับอักเสบบี (HBV)
-
-
-
-
การรักษา
- การกินยา เพื่อยับยั้งการแบ่งตัวของไวรัสและการแพร่กระจายของเชื้อ ถือเป็นวิธีที่นิยมใช้ในปัจจุบัน
ข้อมูลผู้ป่วย เคยได้รับยา เเต่ปัจจุบันไม่ได้ทานเเล้ว ไม่ได้ไปพบเเพทย์ตามนัด
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
ปฏิบัติตัวไม่เหมาะสมเนื่องจากพร่องความรู้ในโรคที่เป็น
OD:ไม่ไปพบเเพทย์ตามนัด
-
ออกฤทธิ์ยังยั้งการแบ่งตัวของไวรัส จึงอาจทำให้เกิด HBV resistance เมื่อรักษาไประยะหนึ่ง โดยยากลุ่มนี้แบ่งย่อยเป็นอีก 2 กลุ่มตามโอกาสในการเกิด HBV
resistance คือ low barrier to resistance (ได้แก่ lamivudine, adefovir และ telbivudine) และ high barrier to resistance (ได้แก่ entecavir, tenofovir disoproxil
-
ไม่มีระยะเวลาการรักษาแน่นอน คือรับประทานยาไปจนกว่าจะถึง treatment endpoint คือ HBeAg seroconversion ใน HBeAg positive หรือ HBsAg
-
พบผลข้างเคียงได้แต่มักไม่รุนแรง เช่น lamivudine (เกิด pancreatitis, lactic acidosis) หรือ TDF (nephropathy, Fanconi syndrome, osteomalacia, lactic
-
เป็นการรักษาหลักในหลาย clinical settings เช่น post-liver transplantation, severe chronic HBV exacerbation หรือ prevention of HBV reactivation
-
- การฉีดยา (Interferon) เพื่อเพิ่มภูมิต้านทาน โดยการฉีดใต้ผิวหนังอาทิตย์ละครั้ง และฉีดต่อเนื่องเป็นเวลา 1 ปี แต่อาจจะมีผลข้างเคียงจากยามากกว่ายาแบบรับประทาน
-
ออกฤทธิ์เป็น immunomodulator โดนหวังผลให้เกิด long-term immunological control จึงไม่มีปัญหาเรื่อง HBV resistance
-
พบผลข้างเคียงได้บ่อย เช่น flu-like symptoms, fatigue, mood disturbances, cytopenias, autoimmune disorder
-
การตัดสินใจรักษาด้วยยากลุ่มนี้ควรใช้ข้อมูลอื่นมาประกอบ เช่น HBV DNA, HBeAg หรือ HBsAg titer เพื่อช่วยในการประเมินโอกาสการตอนสนองต่อการรักษา
-
-