Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบำบัด - Coggle Diagram
การบำบัด
กลุ่มกิจกรรมบำบัด
(Activity Therapy Group)
ความหมาย
เป็นการบำบัดผู้ที่มีปัญหาทางจิต โดยการจัดกิจกรรมในหลายๆ รูปแบบจำนวนผู้ป่วยหรือสมาชิก 7-8 คนระยะเวลาในการทำกลุ่ม 45 นาที - 1 ชั่วโมง มีการตั้งกติกาของกลุ่ม
องค์ประกอบของกลุ่ม
ผู้ช่วยผู้นำกลุ่ม (Co -leader)
สมาชิกกลุ่ม (Member)
ผู้นำกลุ่ม (Leader)
ผู้สังเกตการณ์ (Observer)
ผู้บันทึก (Recorder)
เป้าหมาย
เสริมสร้างทักษะใหม่ๆ ในการอยู่ร่วมกันกับผู้อื่น
เพิ่มระยะการเอาใจใส่ให้สูงขึ้น
กระตุ้นให้มีการติดต่อสื่อสาร
กระตุ้นผู้รับบริการให้กล้าแสดงออกถึงความรู้สึกนึกคิด
กระตุ้นให้เกิดความร่วมมือ รู้จักการให้และรับ แข่งขันและแบ่งปัน
ส่งเสริมทักษะการตัดสินใจ
ระยะเวลาการทำกลุ่ม
กลุ่มขนาดเล็ก
8-12 คน
ใช้เวลา 30-60นาที
เช่น อ่านหนังสือพิมพ์ วาดภาพ
กลุ่มขนาดกลาง
20-30 คน
ใช้เวลา 60 นาที
เช่น กีฬา
กลุ่มขนาดใหญ่
30-50 คน
ใช้เวลา60-120 คน
เช่น นันทนาการ
หน้าที่ของผู้นำกลุ่ม
ดำเนินกลุ่ม
ร่วมคัดเลือก/ ประเมินสมาชิกเข้ากลุ่ม
ติดต่อประสานงาน
วางแผนการจัดกลุ่ม
ประเมินผลกลุ่มและให้ข้อเสนอแนะ
หน้าที่ผู้ช่วยผู้นำกลุ่ม
ช่วยเหลือผู้นำกลุ่มตามที่ผู้นำกลุ่มตกลงให้ช่วยเหลือ โดยการแบ่งหน้าที่ในการทำงาน
หน้าที่ผู้สังเกตการณ์
บันทึกการดำเนินกลุ่ม
ประเมินผลและเสนอแนะ
สังเกตการดำเนินกลุ่ม
ประเภทของกลุ่ม
แบ่งตามเทคนิค (มีโครงสร้าง-ไม่มีโครงสร้าง)
แบ่งตามวัตถุประสงค์
แบ่งตามการรับสมาชิก (กลุ่มเปิด-ปิด)
ประเภทของกลุ่มกิจกรรมบำบัด
กลุ่มสุขศึกษา
กลุ่มนันทนาการบำบัด
กลุ่มกายบริหาร
กลุ่มวาดภาพ
พฤติกรรมบำบัด(Behavioral Therapy)
วัตถุประสงค์
ลดพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์
คงพฤติกรรมที่ดีอยู่แล้ว
สร้างพฤติกรรมใหม่ที่เหมาะสม
ความหมาย
การบำบัดทางจิตชนิดหนึ่งที่มุ่งเน้นการควบคุมพฤติกรรม ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่สังเกตได้ โดยใช้หลักการเรียนรู้ และผลการทดลองทางจิตวิทยา มาใช้กับพฤติกรรมที่เป็นปัญหา การแก้ไขพฤติกรรมเน้นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่สังเกตได้ โดยไม่คำนึงถึงสาเหตุของพฤติกรรมในอดีต
กระบวนการบำบัดความคิดและพฤติกรรม 12 ขั้นตอน
การสร้างสัมพันธภาพ
การประเมินปัญหาพฤติกรรม อารมณ์ และสรีระ
สอน/ใช้ เทคนิคและทักษะที่จำเป็นเพื่อการผ่อนคลาย
ให้ความรู้เรื่องรูปแบบการคิด
บอกขั้นตอนของการบำบัดที่ต้องการความร่วมมือจากผู้รับการบำบัด
ค้นหาความคิดอัตโนมัติทางลบ
เชื่อมโยงให้เห็นว่าความคิดอัตโนมัติทางลบส่งผลต่อพฤติกรรม อารมณ์ และสรีระ
การตั้งเป้าหมายการบำบัดในครั้งนั้นๆ
ปรับเปลี่ยนความคิดอัตโนมัติทางลบ
ส่งเสริมการแก้ปัญหาของผู้รับการบำบัด
มอบหมายการบ้าน
9.พิสูจน์ความคิดอัตโนมัติทางลบ
เทคนิคและวิธีการของพฤติกรรมบำบัด
Self Monitoring การควบคุมและรายงานผลตนเอง เป็นการประเมินตนเองตรวจสอบพฤติกรรมที่เป็นปัญหา
Shaping Teachique คือการแต่งพฤติกรรมจากพฤติกรรมง่ายไปสู่พฤติกรรมซับซ้อนโดย 2 ขบวนการ
Sucessive approximation เป็นการใชเ้ทคนิคการเสริมแรงใหเ้กิดพฤติกรรมเป็นข้ั้นตอนจากพฤติกรรมแรกไปสู่พฤติกรรมสุดท้าย
Chaining เป็นการนำพฤติกรรมย่อยๆต่างๆมาเรียงลำดับจากพฤติกรรมแรกจนถึงพฤติกรรมสุดท้ายและฝึกจากพฤติกรรมสุดท้ายขึ้นมา
Counter Conditioning เป็นการนำ
หลักการเรียนรู้แบบการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค (Classical
Conditioning) มาใช้ในการปรับพฤติกรรมที่เป็นปัญหา เช่น ผู้ป่วยที่กลัวเกินกว่าเหตุ (Phobia) และพวกที่ชอบโชว์อวัยวะเพศ
Punishment เป็นการลดความถี่ของพฤติกรรมโดยการให้สิ่ง
ที่ไม่พึงปรารถนาหรือลดสิ่งเร้าที่พึงพอใจ
Modeling technique ถือเทคนิคการลดความกลัวหรือความวิตกกังวลโดยการให้ดูตัวแบบ อาจใช้หลัก relaxation เข้าช่วย
Reimforcement เป็นการเพิ่มความถี่ของพฤติกรรมโดยการให้แรงเสริมทางบวกหรือลดแรงเสริมลบทันทีที่เกิดพฤติกรรมที่พึงพอใจ
Assertive training เป็นการฝึกให้ผู้ป่วยกล้าแสดงออกถึงความรู้สึกที่ควรจะแสดงออกในสังคมโดยไม่วิตกกังวล
ประโยชน์ของการบำบัดตวามคิดและพฤติกรรม
แก้ปัญหาได้อย่างมีเป้าหมาย
บำบัดได้ด้วยตนเอง เมื่อเรียนรู้วิธีช่วยเหลือ
เปลี่ยนความคิด อารมณ์ และพฤติกรรมได้
จัดการกับปัญหาหรืออยู่กับปัญหานั้นได้
สามารถใช้ในการบำบัดทั้งแบบ individual & group