Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 9 ผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บ, image - Coggle Diagram
บทที่ 9 ผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บ
เป้าหมายของการดูแลผู้บาดเจ็บ
แก้ไขภาวะอุดกั้นทางเดินหายใจ
ช่วยเหลือและประคับประคองการหายใจ
ประเมินและแก้ไขภาวะมีลมในช่องเยื่อหุ้มปอด
ยับยั้งภาวะตกเลือดทั้งชนิดตกเลือดภายใน (internal bleeding) และตกเลือดภายนอก (external bleeding)
ประเมินและแก้ไขภาวะช็อค
ลดภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นภายหลังบาดเจ็บศีรษะ
ประเมินและช่วยเหลือภาวะบาดเจ็บช่องท้อง
ประเมินและแก้ไขภาวะบาดเจ็บของแขนขา
ประเมินและแก้ไขภาวะบาดเจ็บที่กระดูกสันหลัง
ป้องกันหรือลดความรุนแรงของความพิการที่อาจเกิดจากผลของ
การบาดเจ็บ
จัดให้มีเวชภัณฑ์ที่เหมาะสมสำหรับดูแลรักษา
การคัดกรอง คัดแยกผู้ป่วย (Triage)
ตามอาการเจ็บป่วยหรือบาดเจ็บตามลำดับความเร่งด่วน เพื่อให้การรักษาหรือปฏิบัติการที่ถูกต้อง การคัดแยกผู้ป่วยตามลำดับ
การคัดแยกผู้ป่วย ณ จุดเกิดเหตุ (Prehospital triage)
การคัดแยกในที่เกิดเหตุ (Prehospital triage)
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บเบื้องต้น
1.Primary Assessment
การตรวจหาพยาธิสภาพหรือความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ที่ อาจทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตในเวลาอันสั้น ซึ่งเมื่อพบต้องรีบแก้ไข (resuscitation) ทันที ขั้นตอนนี้ คือ "ABCs“ ได้แก่
-การตรวจดูเรื่องทางเดินหายใจ (airway with cervical spine control)
-การหายใจ (breathing)
-ระบบไหลเวียนโลหิต (circulation)
2.Resuscitation
3.Secondary Assessment
เป็นการตรวจหาพยาธิสภาพอย่างละเอียด
หลังจากที่ผู้ป่วยพ้น ภาวะวิกฤติแล้ว
การซักประวัติ, ตรวจร่างกายอย่างละเอียด,
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ การตรวจพิเศษต่าง ๆ เช่น การเอ็กซเรย์ส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย, การทำCT scan
ผู้ป่วยบางรายมาถึงห้องฉุกเฉินในสภาพหนักมาก อาจถูกนำส่งห้องผ่าตัดทันที โดไม่มีโอกาส
4.Definitive care (การรักษา)