Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 6 แนวทางการวัดและประเมินสำหรับนักเรียนที่มี ความต้องการจำเป็นพิ…
หน่วยที่ 6
แนวทางการวัดและประเมินสำหรับนักเรียนที่มี
ความต้องการจำเป็นพิเศษทางการศึกษา
ความหมายของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
เด็กที่มีปัญหาและความต้องการจำเป็นพิเศษ ซึ่งมากกว่าเด็กปกติทั่วไป แบ่งได้ออกเป็น 3 กลุ่ม คือ
กลุ่มเด็กที่มีความบกพร่องทางการศึกษาทั้ง 9 ประเภท อันได้แก่ เด็กที่มีความบกพร่องทางการเห็น เด็กที่มีความบกพร่องทางก ารได้ยิน เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา เด็กที่มีความบกพร่องทางร่างกาย หรือสุขภาพเด็กที่มีความบกพร่องทางการพูดและภาษา เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมหรืออารมณ์ เด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ เด็กออทิสติก และเด็กพิการซ้ำซ้อน
กลุ่มเด็กที่มีความสามารพิเศษ หรือที่รู้จักกันในนาม
“เด็กปัญญาเลิศ-เด็กอัจฉริยะ
กลุ่มเด็กด้อยโอกาส
ความสำคัญของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้สำหรับนักเรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ
พระราชบัญญัติการศึกษา แห่งชาติพ.ศ. 2542 ได้กำหนดแนวทางการจัดการศึกษา เกี่ยวกับคนพิการไว้ว่า การจัดการศึกษาต้องจัด ให้บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอภาคกันในการรับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ไม่น้อยกว่า 12 ปีที่รัฐจะต้องจัดให้ อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย
กำหนดประเภท และหลักเกณฑ์ของคนพิการ ทางการศึกษา
พ.ศ. 2552 ไว้ 9 ประเภท ได้แก่
บุคคลที่มีความบกพร่องทางการเห็น
บุคคลที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน
บุคคลที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา
บุคคลที่มีความบกพร่องทางร่างกายหรือการเคลื่อนไหวหรือสุขภาพ
บุคคลที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้
บุคคลที่มีความบกพร่องทางการพูดและภาษา
บุคคลที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมหรืออารมณ์
บุคคลออทิสติก
บุคคลพิการซ้อน
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตร แกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551ซึ่งกำหนดให้ผู้สอนจะต้องประเมินนักเรียนใน 4 องค์ประกอบ ได้แก่
การประเมินการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ (K P)
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และ เขียน
การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
จุดมุ่งหมายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้สำหรับนักเรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ
สำหรับนักเรียนที่มีความ ต้องการจำเป็น พิเศษทางการศึกษามีจุดมุ่งหมาย ดังนี้
เพื่อประเมินความรู้ความสามารถพื้นฐานและความต้องการจำเป็นพิเศษเพื่อวางแผนการจัดการเรียนรู้
เพื่อประเมินพัฒนาการและผลการเรียนรู้ของนักเรียนระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้อย่าง ต่อเนื่อง
เพื่อตัดสินผลการเรียน เมื่อจบหน่วยการเรียนรู้หรือจบรายวิชาตามมาตรฐานและตัวชี้วัดใน หลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
การประเมินพฤติกรรมการเรียนรู้ของนักเรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษจะแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ
การประเมินพัฒนาการและผลการเรียนรู้ของนักเรียน
เป็นการประเมินเพื่อพัฒนา (Formative Evaluation) โดยเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับพัฒนาการและผลการเรียนรู้ของนักเรียน
การประเมินเพื่อตัดสินผลการเรียน (Summative Assessment)
เป็นการประเมินเพื่อตัดสิน ผลการจัดการเรียนรู้หลังจบหน่วยการเรียนรู้หรือเสร็จสิ้นการจัดการเรียนรู้ตามแผนการจัดการศึกษาเฉพาะ บุคคล (IEP)
หลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้สำหรับนักเรียน ที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ
สถานศึกษาเป็นผู้รับผิดชอบการวัดและการประเมินผลการเรียนรู้ของนักเรียนที่มีความต้องการจำเป็น พิเศษทางการศึกษา โดยเปิดโอกาสให้ผู้ที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วม
การวัดและการประเมินผลการเรียนรู้สำหรับนักเรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษทางการศึกษา มีจุดมุ่งหมายเพื่อประเมินระดับความสามารถและความต้องการจำเป็นพิเศษ ปรับปรุงพัฒนานักเรียน และ ตัดสิน ผลการเรียน
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้สำหรับนักเรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษทางการศึกษา ควร อยู่บน พื้นฐานที่สอดคล้องและตอบสนองกับความต้องการจ าเป็นพิเศษทางการศึกษาของนักเรียน โดยใช้ แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP) เป็นเครื่องมือในการดำเนินการ เชื่อมโยงกับมาตรฐานและตัวชี้วัด
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการจัดการเรียนการสอนต้องดำเนินการ ด้วยวิธีการที่หลากหลาย เหมาะสมกับสภาพปัญหาความต้องการจำเป็นพิเศษทางการศึกษาและศักยภาพของนักเรียน
การช่วยเหลือและอำนวยความสะดวก
ด้านการนำเสนอ
การช่วยเหลือและอำนวยความสะดวก
ด้านการตอบสนอง
การช่วยเหลือและอำนวยความสะดวก
ด้านการจัดสภาพแวดล้อม
การช่วยเหลือและอำนวยความสะดวก
ด้านการจัดเวลาและตารางเป็นการปรับเปลี่ยนเกี่ยวกับ เวลา
การประเมินนักเรียนพิจารณาจากพัฒนาการของนักเรียน ความประพฤติการสังเกตพฤติกรรมการ เรียนรู้การร่วมกิจกรรมและการทดสอบ
เปิดโอกาสให้นักเรียนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องตรวจสอบผลการประเมินผลการเรียนรู้
มีการเทียบโอนผลการเรียนระหว่างสถานศึกษาและรูปแบบการศึกษาต่าง ๆ
สถานศึกษาจัดท าเอกสารหลักฐานการศึกษา เพื่อเป็นหลักฐานการประเมินผลการเรียนรู้รายงาน ผลการเรียนแสดงวุฒิการศึกษาและรับรองผลการเรียนของนักเรียน
แนวทางการวัดและประเมินผลการเรียนรู้สำหรับนักเรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ
กรณีนักเรียนพิการหรือบกพร่องที่มีความรู้ความสามารถช่างเทียมหรือใกล้เคียงกับนักเรียนทั่วไปที่เรียนร่วม
ให้วัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามมาตรฐานการเรียนรู้ตัวชี้วัดและเกณฑ์ต่างๆในกลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชาเช่นเดียวกับนักเรียนทั่วไป
อาจมีการปรับวิธีการ/เวลาในการวัดและประเมินให้ยืดหยุ่นตามความต้องการจำเป็นพิเศษของนักเรียนแต่ละคน
จะได้มีสิ่งอำนวยความสะดวกและวิธีการสื่อสารให้นักเรียนสามารถเข้าถึงเนื้อหาสาระในแบบทดสอบตามความเหมาะสมของแต่ละบุคคล
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้สำหรับนักเรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษทางการศึกษา ควรอยู่บนพื้นฐานที่สอดคล้องและตอบสนองกับความต้องการจำเป็นพิเศษทางการศึกษาของนักเรียน มีองค์ประกอบดังนี้
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระการเรียนรู้
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน
การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
กรณีนักเรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษทางการศึกษา
ใช้เกณฑ์วัดและประเมินเช่นเดียวกันกับเด็กปกติ
เป็นการพิจารณาเฉพาะบุคคลไม่เปรียบเทียบกับนักเรียนทั่วไป
. ในกลุ่มสาระการเรียนรู้รายวิชาที่ต้องปรับเปลี่ยนเนื้อตัวชี้วัดที่ใช้จะต้องมีการจัดการเรียนการสอนที่สอดคล้องกันในชั้นเรียน
หลักวิธีการในการวัดและประเมินให้เหมาะสมกับความต้องการของแต่ละบุคคล
ปรับเครื่องมือวัดและประเมินผล
กำหนดเกณฑ์การให้คะแนนใหม่ให้เหมาะสมกับศักยภาพของนักเรียนและสอดคล้องกับวัตถุประสงค์
ปรับระยะเวลาหรือกำหนดการในการสอนให้เหมาะสม
รับสถานที่สอบเพื่อนักเรียนจะไม่ไปทำความรบกวนให้ผู้อื่นหากจำเป็นต้องให้การช่วยเหลือ
การนำเสนอข้อสอบต้องมีผู้อ่านหรือเครื่องอ่านข้อสอบให้ฟัง
วัดและประเมินผลความก้าวหน้าและระบุไว้ในช่องการวัดประเมินผลของแผนจัดการศึกษา
เกณฑ์การวัดและประเมินผลการเรียนรู้สำหรับนักเรียน
การรายงานผลการเรียน
การรายงานผลการเรียนเป็นการสื่อสารให้ผู้ปกครองและนักเรียนทราบความก้าวหน้าในการเรียนรู้ของนักเรียน เอกสารรายงานให้ผู้ปกครองทราบเป็นระยะอย่างน้อยภาคเรียนละ 1 ครั้ง
เกณฑ์การจบการศึกษา
มีความแตกต่างจากนักเรียนเพื่อไปและยังมีความยืดหยุ่นมากกว่านักเรียนทั่วไปแต่ยังคงมีเงินเก็บ
การสอนซ่อมเสริม
การเลื่อนชั้น
นักเรียนมีผลการประเมินการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียนคุณลักษณะอันพึงประสงค์และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนดไว้
นักเรียนมีเวลาเรียนตลอดปีการศึกษาไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของเวลาเรียนทั้งหมด
นักเรียนมีผลการประเมินผ่านมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด ตามหลักเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนดหมายในแต่ละรายวิชา และผ่านเกณฑ์การวัดและประเมินผลตามจุดประสงค์ที่กำหนดไว้ในแผนจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล IEP
การเรียนซ้ำ
นักเรียนที่ไม่ผ่านรายวิชาจำนวนมากและมีแนวโน้มว่าจะเป็นปัญหาต่อการเรียนในระดับสูงสถานศึกษา อาจแต่งตั้งคณะกรรมการที่เกี่ยวข้องพิจารณาให้นักเรียนซ้ำชั้นได้
เรียนไม่ถึงร้อยละ 80
ผลการประเมินไม่ถึงเกณฑ์
การให้ระดับผลการเรียน
การตัดสินผลการเรียน
ผู้เรียนต้องได้รับการประเมินและมีผลการประเมินผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด
แนวปฏิบัติในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้สำหรับนักเรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษแต่ละประเภท
การวัดและประเมินการเรียนรู้สำหรับนักเรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษทางการศึกษาควรอยู่บนพื้นฐาน ที่สอดคล้องและตอบสนองกับความต้องการจำเป็นพิเศษทางการศึกษาของนักเรียน
การประเมินระดับความรู้ความสามารถพื้นฐานและความต้องการจำเป็นที่สุด
การวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
ปรับปรุงพัฒนาแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล IEP
การจัดทำแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล IEP
การกำหนดเกณฑ์และแนวทางการวัดและประเมินผลตามแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล IEP
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและประเมินผล
การประเมินทบทวนและปรับปรุงแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล IEP
การรายงานการจัดการศึกษาตามแผนจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล IEP