Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
[กระบวนการพยาบาลอนามัยชุมชน], ได้ข้อมูลสุขภาพชุมชนควรนำข้อมูลมาวิเคราะห์ตา…
[กระบวนการพยาบาลอนามัยชุมชน]
การวินิจฉัยปัญหาในชุมชน
1) การระบุปัญหาอนามัยชุมชน (Identify problem)
1.1 การระบุปัญหาอนามัยชุมชน
ด้านการเสียชีวิต การเจ็บป่วย การพิการที่สาเหตุของการเจ็บป่วย หรือการเสียชีวิต
ด้านความรู้สึกไม่พึงประสงค์ ความไม่สุขสบาย ของประชาชนในชุมชน
2) การจัดลำดับความสำคัญของปัญหา (Priority Setting)
วิธีการพิจารณาจากเกณฑ์ 5D
1.1 ปัญหาระดับ death พิจารณาจากจำนวนคนที่เสียชีวิตจากโรคหรือปัญหานั้นๆหรืออัตราตาย (mortality rate) ในชุมชน
1.2 ปัญหาระดับ disease พิจารณาจากจำนวนผู้ป่วยจากโรคหรือปัญหาสุขภาพนั้นๆโดยมุ่งสนใจที่ อัตราป่วย (morbidity rate) ในชุมชน
1.3 ปัญหาระดับ disability ให้ความสนใจจำนวนที่เกิดความพิการจากปัญหาโรคหรือ
ปัญหาสุขภาพนั้น ๆ รวมถึงแนวโน้มของโรคที่จะเกิดโรคที่เป็นสาเหตุของความพิการหลงเหลือในชุมชนนั้น
1.4 ปัญหาระดับ discom fort พิจารณาถึงปัญหาสุขภาพที่ก่อให้เกิดความไม่สุขสบายของคนในชุมชน
1.5 ปัญหาระดับ dissatisfaction ให้ความสำคัญกับความรู้สึกไม่พึงพอใจของประชาชน
ในชุมชนต่อปัญหาสุขภาพที่เกิดขึ้นและต้องการที่จะแก้ไข
วิธีการพิจารณาปัญหาจากผลกระทบของปัญหาต่อประชนและชุมชน
2.1 มีผลกระทบต่อประชากรมากหรือไม่
2.2 เป็นสาเหตุทำให้ทารกตายหรือไม่
2.3 มีผลกระทบต่อสุขภาพของมารดาหรือไม่
2.4 มีผลกระทบต่อเด็กและเยาวชนหรือไม่
2.6 มีผลกระทบต่อการพัฒนาชุมชนหรือชนบทหรือไม่
2.7 เป็นสาเหตุที่ทำให้ชุมชนมีความกังวลหรือไม่
2.5 เป็นสาเหตุของความพิการและทุพลภาพหรือไม่
ถ้าหากคำตอบของคำถามข้างบนทั้งหมดนี้เป็น "ใช่" ก็ให้ถือว่าปัญหานั้นเป็นปัญหาอันดับแรกที่ต้องแก้ไข โดยวิธีการพิจารณาปัญหาจากผลกระทบของปัญหาต่อประชนและชุมชนจะพิจารณาความสำคัญของปัญหาจากองค์ประกอบ 4 องค์ประกอบ
องค์ประกอบ A ขนาดของปัญหา (size of problem) ในการให้คะแนนขนาดของปัญหาอาจจะใช้อัตราส่วนหรือเปอร์เซ็นต์ของประชากรที่เกิดปัญหานั้นหรือที่เสี่ยงต่อปัญหานั้นในบางครั้งปัญหาหลาย ๆ
องค์ประกอบ B: การคุกคามของปัญหานั้น (serious of the problem) มีปัจจัยที่ต้องพิจารณาอยู่ 4 อย่างคือ
ความเร่งด่วน (urgency)
ความรุนแรง (severity)
การสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจ (economics loss)
การแพร่กระจายไปสู่บุคคลอื่น (involvement at other people)
องค์ประกอบ C: ประสิทธิภาพของการปฏิบัติงาน (effectiveness of the inter-vention) เป็นส่วนสำคัญยิ่งแต่วัดได้ยากมาก และจะวัดออกมาเป็นเปอร์เซ็นต์
องค์ประกอบ D: ข้อจำกัด (limitation) คือปัจจัยกำหนดความสำเร็จของการดำเนินการกิจกรรมในการแก้ไขปัญหา ภายใต้เงื่อนไขของความจำกัดทางทรัพยากรที่มีอยู่ ระยะเวลาที่จำกัด โดยจะต้องพิจารณาถึงสิ่งต่าง ๆ ต่อไปนี้ คือ
ความเหมาะสมของกิจกรรมกับปัญหา (property: P)
เศรษฐกิจ (economics: E)
การยอมรับ (acceptability: A)
ขุมพลังหรือทรัพยากร (resource: R)
ความเป็นไปได้ในเชิงกฎหมาย (legality: L)
วิธีการกระบวนการกลุ่ม (Nominal group process)
เป็นการนำกระบวนการกลุ่มมาใช้ในการจัดลำดับความสำคัญของปัญหา โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ประชาชนในชุมชนได้เข้ามาร่วมในการวิเคราะห์ปัญหาและตัดสินใจเลือกปัญหาด้วยตนเองตามลำดับความสำคัญก่อนหลังตามความเห็นและความต้องการของชุมชน โดยวิธีการจัดลำดับความสำคัญวิธีนี้ อาจเริ่มด้วยการใช้การให้ประชาชนแสดงความคิดเห็นหรือบ่งชี้ตัวปัญหาว่าในชุมชนมีปัญหาสุขภาพอะไรบ้างวิธีนี้เรียกว่า "Listing Tech nique " และจากนั้นให้ช่วยกันลงคะแนนเพื่อตัดสินใจเลือกประเด็นปัญหาที่มีความสำคัญที่สุดและต้องการแก้ไขปัญหานั้นเป็นอันดับแรก วิธีนี้เรียกว่า "Ranking technique"
วิธีการเรียงลำดับความสำคัญของปัญหาตามการรับรู้ของชุมชนและความเชี่ยวชาญชำนาญในการแก้ไขปัญหา
4.1 การรับรู้ปัญหาของชุมชน
4.2 ความตั้งใจของ (motivation) ชุมชนในการจะแก้ไขปัญหานั้น
4.3 ความสามารถของพยาบาลในการแก้ไขปัญหา
4.4 ผู้ชำนาญการในการแก้ปัญหาที่มีอยู่
4.5 ความรุนแรงของปัญหาถ้าไม่ได้รับการแก้ไข
4.6 ความรวดเร็วของมติที่จะต้องแก้ไขปัญหานั้น
5.วิธีการของคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
5.1 ขนาดของปัญหา (size of problem)
5.2 ความรุนแรงของปัญหา (severity of problem)
5.3 ความยากหรือง่ายในการแกไขปัญหา (feasibility of problem solving)
1) ด้านวิชาการ
2) ด้านบริหาร
3) ด้านระยะเวลา
4) ด้านกฎหมาย
5) ด้านศีลธรรม
3) การโยงใยสาเหตุของปัญหา
ศึกษาทบทวนธรรมชาติของการเกิดโรค/ปัญหาโดยละเอียด
1.1 ใช้หลักทางระบาดวิทยา
ระยะฟักตัวของโรค
วิธีการติดต่อของโรค
ลักษณะการแสดงออกของโรค
มาตรการควบคุมโรค
สร้างโยงใยสาเหตุของปัญหา(Web of Causation : Multifactorial Causation)
เหตุต้องเกิดก่อนผล
ความสัมพันธ์ของเหตุและผลเป็นไปตามหลักวิทยาศาสตร์
ความจำเพาะของเหตุที่ทำให้เกิดผล
ปัจจัยที่มีค่าเสี่ยงสัมพัทธ์สูงมีโอกาสเป็นสาเหตุได้มากขึ้น
ความสัมพันธ์โดยตรง (Direct Causation)
เช่น การดื่มน้ำที่ปนเปื้อนเชื้อโรค
กับ การเกิดอุจจาระร่วง
ความสัมพันธ์โดยอ้อม (Indiract Causation)
เช่น การขาดความรู้ การขาดแหล่งน้ำสะอาด
ใช้ข้อมูลที่มีอยู่ในชุมชนกำจัดปัจจัยบางตัว
การใช้ข้อมมูล จปฐ. เพื่อตัดปัจจัยออกจากโยงใยสาเหตุของปัญหา แต่ต้องคงไว้ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับสาเหตุ
ศึกษาเปรียบเทียบโอกาสเป็นสาเหตุของโรค โดยใช้การวิเคราะห์เชิงระบาดวิทยา
เป็นการเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มของคนที่เป็นโรคกับคนที่ไม่เป็นโรค ถึงปัจจัยหรือสาเหตุของโรคว่ามีอัตราเสี่ยงต่อการเป็นโรคต่างกันหรือไม่
พิสูจน์หาปัจจัยที่น่าเป็นสาเหตุของปัญหา
6.การใช้ระบาดวิทยาเชิงวิเคราะห์
ข้อมูล
ข้อมูลอัตราอุบัติการณ์เพื่อตัดปัจจัยบางตัวในเครือข่าย
ข้อมูลอัตราความชุก
บุคคล สถานที่ เวลา จากข้อมูลจริงหรือ พิจารณาเก็บข้อมูลเพิ่มเติม
สร้างโยงใยสาเหตุของปัญหาที่แท้จริง (Actual Web of Causation)
ขนาดของอัตราเสี่ยงสัมพัทธ์ (Relative Risk) ของแต่ละปัจจัยช่วยชี้บ่ง ความสําคัญมากน้อยของแต่ละปัจจัย
ลูกศรในโยงใยของปัญหาควรมีความใหญ่หรือเล็กตามขนาดของอัตรา เสี่ยงสัมพัทธ์
ส่วนปัจจัยที่ได้จากข้อมูลเชิงคุณภาพ ควรเป็นเส้นทึบปกติ
ปัจจัยที่ไม่สามารถพิสูจน์ได้ แต่ต้องคงไว้เพื่อความสมบูรณ์ของโยงใยสาเหตุ อาจใช้เส้นประได้
1.การประเมินชุนชน
การประเมินสุขภาพชุมชน
ข้อมูลที่จำเป็นในการประเมินสุขภาพชุมชนประกอบด้วย
1) ข้อมูลทั่วไปของชุมชนที่แสดงถึงลักษณะทางกายภาพของชุมชน
2) ข้อมูลด้านประชากร โครงสร้างประชากรเช่น เพศ อายุ เชื้อชาติ ศาสนา การศึกษา
3) ข้อมูลด้านเศรษฐกิจและสังคม เป็นข้อมูลที่แสดงให้เห็นฐานะ วิถีการดำเนินชีวิต และความเป็นอยู่ของชุมชนเช่น
4) ข้อมูลด้านสุขภาพ
5) ข้อมูลด้านพฤติกรรมสุขภาพทั้งพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพของประชาชน
6) ข้อมูลด้านบริการสุขภาพ ระบบบริการสุขภาพ ความพอเพียง รวมทั้งบริการสุขภาพแบบพื้นบ้านสมุนไพร
วิธีการรวบรวมข้อมูลสุขภาพชุมชน
การวิเคราะห์ข้อมูลทุติยภูมิที่มีอยู่
การสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลหลัก
การสังเกต
การสังเกตแบบมีส่วนร่วมผู้สังเกตเข้าไปร่วมกิจกรรมของผู้ถูกสังเกตโดยมีการซักถาม สังเกต
การสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม
การสนทนากลุ่ม
4.การใช้แบบสำรวจ
5.การประเมินชุมชนแบบเร่งด่วน
การประเมินชุมชนในเบื้องต้น โดยใช้เครื่องมือ 7 ชิ้น
2.ผังเครือญาติ
3.ประวัติศาสตร์ชุมชน
4.ปฏิทินชุมชน
5.แผนผังองค์กรชุมชน
6.ระบบสุภาพชุมชน
7.ข้อมูลชีวิตบุคคลสำคัญ
1.แผนที่เดินดิน
กระบวนการความสำคัญกับ 3 ประเด็น
3.กระบวนการสร้างการมีส่วนร่วมของผู้ที่เกี่ยวข้อง ทั้งภาคส่วนขององค์กรหน่วยงานรัฐ ภาคประชาชน และองค์กรชุมชนในการให้ข้อมูล เก็บข้อมูล และรับทราบข้อมูลร่วมกัน
2) การเปิดเผยให้เห็นปัญหาสุขภาพของคนในชุมชนพร้อมทั้งศักยภาพในการแก้ไขปัญหา
1.การค้นหา เข้าถึงข้อมูลที่เกี่ยวกับสุขภาพคนในชุมชน
การเก็บรวบรวมข้อมูลครั้งที่ 1
ข้อมูลปฐมภูมิ
ข้อมูลทั่วไปของชุมชน เช่น แผนที่ ลักษณะภูมิประเทศ ภูมิศาสตร์ ข้อมูลด้านสุขภาพ อาชีพ รายได้ การศึกษา ศาสนา
ข้อมูลทุติยภูมิ
แบบรายงานต่าง
แผนพัฒนาต่างๆ
วิธีการการเก็บรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิครั้งที่ 1
เครื่องมือ
แบบสอบถาม
แบบสัมภาษณ์ ฯลฯ
วิธีการ
การสังเกต
การสัมภาษณ์ ฯลฯ
การวิเคราะห์ข้อมูลครั้งที่ 1
เชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ
แยกประเภทข้อมูล
บรรณาธิการข้อมูลดิบ
แจกแจงความถี่
สรุปข้อมูล
การนำเสนอข้อมูลครั้งที่ 1
เชิงปริมาณ
ตาราง ,กราฟเส้น,วงกลม ,แท่ง
เชิงคุณภาพ
บทความ
5.การประเมินผลแผนงานโครงการ
การประเมินระหว่างดำเนินการโครงการ (Formative evaluation)
ทบทวนแผนของโครงการ
การสร้างแผนของโครงการ
การพัฒนาแบบสอบถาม (Questionnaire) หรือรายการ (Check list) สำหรับรวบรวมข้อมูลตามเรื่องที่ต้องการ
คัดเลือกวิธีการวัดผลที่เหมาะสม
กำหนดตารางเวลาการประเมินผลให้สอดคล้องกับการดำเนินโครงการ
การเตรียมข้อมูลที่จะเป็นข่าวสารสำหรับการรายงานและเสนอแนะสำหรับการตัดสินเกี่ยวกับการดำเนินโครงการ
การแนะนำแนวทางปรับปรุง การแก้ปัญหา และการเปลี่ยนแปลงการปฏิบัติของโครงการ
การประเมินเมื่อสิ้นสุดโครงการหรือประเมินผลผลิต (Summative Evaluation)
การประเมินประสิทธิภาพ
ความสำเร็จของโครงการนั้น เมื่อเทียบกับค่าใช้จ่ายแล้วมีความเหมาะสมหรือไม่
ผลผลิตของโครงการเกิดจากปัจจัยที่ลงทุนไป
โครงการนี้มีผลผลิตสูงกว่าโครงการอื่น ๆ เมื่อลงทุนเท่ากันหรือไม่ และเพราะเหตุใด
การประเมินผลแผนงานโครงการ (community evaluation) คือ การจัดเก็บข้อมูลทุกๆด้านมาวิเคราะห์ปัจจัยต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติและประสิทธิภาพของการปฏิบัติงานตามโครงการในทุกขั้นตอน ประเภทของการประเมินผล
4.การปฏิบัติตามแผนงาน
ขั้นเตรียมงาน
เตรียมความพร้อมของทีม การประชุมปรึกษา กำหนดตัวบุคคลและการแบ่งหน้าที่รับผิดชอบ กำหนดแนวทางการประสานงาน
ศึกษารายละเอียดของกิจกรรมให้เข้าใจทุกขั้นตอน
แบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบป้องกันการทำงานซ้ำซ้อน
เตรียมทรัพยากรอุปกรณ์งบประมาณ เครื่องมือที่จะนำไปใช้และบุคลากรที่เกี่ยวข้อง
เตรียมกลุ่มเป้าหมายหรือผู้รับบริการ
ชี้แจงให้ทราบว่าจะเข้าไปทำกิจกรรม/บริการอะไรในชุมชน
ประสานกับผู้นำชุมชนใต้การสนับสนุน กระตุ้น และมีส่วนร่วมในกิจกรรม
คัดเลือกสมาชิกกลุ่ม / องค์กรในชุมชนที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับปัญหา
การประชาสัมพันธ์ แจ้งให้ประชาชนทราบ วันเวลา วัตถุประสงค์ ให้ได้รับรู้ ตระหนัก และมีส่วนร่วมในการทำงาน
ขั้นดำเนินงาน
แสดงกิจกรรมตามลำดับก่อน-หลัง
แสดงระยะเวลาเริ่มต้นและสิ้นสุดของช่วงเวลาดำเนินการ
กำหนดสื่อและทรัพยากรที่ใช้กำหนดกิจกรรมหรือแนวการปฏิบัติงานแก้ปัญหา ผู้รับผิดชอบทรัพยากร งบประมาณ
แสดงผู้รับผิดชอบแต่ละกิจกรรม
การติดตามประเมินผล / การควบคุมตรวจสอบ การรายงานความก้าวหน้า
วิธีดำเนินงาน มีแนวทางในการดำเนินงานกำกับ เพื่อดูว่าการดำเนินงานมีความก้าวหน้ามากน้อยเพียงใด มีปัญหาหรืออุปสรรคหรือไม่
หลักในการทำงานเป็นทีม
สร้างสัมพันธภาพในการทำงาน
สร้างศรัทธาให้เกิดขึ้นในทีมงาน ผู้ร่วมงานและประชาชน
กระตุ้นให้ผู้ร่วมทีมและประชาชนมีอารมณ์ร่วมในการทำงาน
การทำงาน และกิจกรรมต่าง ๆ ควรยืดหยุ่นได้ตามสถานการณ์
นำเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้อย่างเหมาะสม (appropriate technology)
จัดบริการต่าง ๆ ให้ต้องครอบคลุมผู้รับบริการ (accessibility)
ผสมผสานการทำงานของหลายหน่วยงานเข้าด้วยกัน (intersectoral coordination)
กระตุ้นให้ประชาชนในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรม (community participation)
การปฏิบัติตามแผนงาน (community implementation)
การวางแผนแก้ปัญหาอนามัยชุมชน (community planning)
แผนระยะยาว
ระยะดำเนินงาน 5-10 ปี ขึ้นไปมีนโยบายและทิศทางการแก้ปัญหาอย่างกว้างๆ เพื่อถือปฏิบัติและเป็นแนวทางในการควบคุมการกระทำ เช่น แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
แผนระยะสั้น
ระยะดำเนินงานอยู่ระหว่าง 2 ปี ลงไป อาศัยเค้าโครงจากแผนระยะปานกลางและแผนที่กำหนดกิจกรรมเพียงครั้งเดียว เช่น แผนระดับท้องถิ่น
แผนระยะปานกลาง
ระยะดำเนินงานอยู่ระหว่าง 2-5 ปี เป็นแผนที่อาศัยกรอบเค้าโครงจากแผนระยะยาว เช่น แผนระดับกระทรวง
ได้ข้อมูลสุขภาพชุมชนควรนำข้อมูลมาวิเคราะห์ตามหมวดหมู่
1) ลักษณะทั่วไปของชุมชน
2) ข้อมูลด้านสุขภาพอนามัย
3) ข้อมูลต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับโรค
4) ข้อมูลระบบบริการต่างๆ สิทธิในการรักษาและการใช้บริการสุขภาพ