Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Oroantral fistula with probable extension to the maxillary sinus - Coggle…
Oroantral fistula with probable extension to the maxillary sinus
ข้อมูลผู้ป่วย
การวินิจฉัย
oroantral fistula with probable extension to the maxillary sinus.
ประวัติการเจ็บป่วยในปัจจุบัน
มีอาการปวดที่หน้าด้านขวาตรงข้างจมูกและปวดฟันข้างขวา และมีหนองออกทางปากเป็นๆ หายๆมา 1ปี
ข้อมูลทั่วไป
ชายไทย อายุ 16 ปี สถานะภาพ โสด
อาการสำคัญที่มาโรงพยาบาล
1 วันก่อนอาการปวดที่หน้าด้านขวา ปวดมากขึ้น ตลอดเวลา ตรงข้างจมูกและปวดฟันข้างขวา และมีหนองออกทางปาก มีกลิ่นเหม็น รับประทานอาหารได้น้อยเพราะอาการปวดบริเวณใบหน้า ช่องปาก
ประวัติการแพ้ยา
ปฏิเสธการแพ้ยา
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่มีความผิดปกติ
BUN 8 mg/dl ต่ำ
ค่าปกติ (10-20)
ภาวะขาดโปรตีน ภาวะน้ำเกิน
creatinine 0.2 mg/dl ต่ำ
ค่าปกติ (0.6-1.02)
ภาวะมีมวลกล้ามเนื้อน้อย เช่น ในคนผอม
CO2 44 mmol/L สูง
ค่าปกติ (22-29)
อาจเกิดการอาเจียนอย่างรุนแรง ทำให้เสียน้ำในร่างกายไปมากผิดปกติ
WBC 13.5 x 103/UL สูง
ค่าปกติ (5-11)
ร่างกายอาจกำลังได้รับเชื้อโรคสำคัญหรือเกิดจากจุลชีพก่อโรคที่หลุดเข้าสู่ร่างกาย จึงกระตุ้นให้ร่างกายต้องเร่งผลิตสร้างเม็ดเลือดขาวขึ้นมาต่อสู้
Neutrophil 84.8 % สูง
ค่าปกติ (40-70)
อาจกำลังเกิดโรคจากการติดเชื้อ อาจกำลังเกิดโรคเซลล์หรือเนื้อเยื่อบางจุดขาดเลือด
Lymphocyte 6 % ต่ำ
ค่าปกติ (20-50)
ร่างกายอาจถูกโจมตีโดยไม่รู้ตัวจากเชื้อ HIV
Hct 40 .6% ต่ำ
ค่าปกติ( 42-50)
ภาวะโลหิตจาง มีการเสียเลือด
Hb 13 .9 gm% ต่ำ
ค่าปกติ(14-18)
ภาวะโลหิตจาง มีการเสียเลือด
ยาที่ผู้ป่วยได้รับ
5% D/N/2 1000 ml IV 80 cc /hr
กลุ่มยา ประเภทสารน้ำแก้ไขภาวะความไม่สมดุลของน้ำ อิเลคโทรไลต์/ การออกฤทธิ์ Dextroseเป็นน้ำตาลตามธรรมชาติที่อยู่ในอาหารและถูกเผาผลาญเป็นคาร์ โบไฮเดรตต่อไปจะเผาผลาญเป็นคาร์บอนไดออกไซด์และน้ำ (CO, + HO)ให้พลังงานกับเซลล์
ผลข้างเคียง
น้ำตาลในเลือดสูง หากให้ในอัตรามากกว่า 0.5 กรัม /กิโลกรัม / ชั่วโมง อาจเกิด Hypokalemia, Hypophosphatemia, Hypomagnesemia
การพยาบาล
ชั่งน้ำหนัก ตวงน้ำ ตวงปัสสาวะ
ติดตามผลการตรวจ Electrolyte และ Glucose
Plasil 1 amp IV PRN q 8 hrs.
กลุ่มยา แกคลื่นไส้อาเจียน
ผลข้างเคียง
ง่วงนอน อ่อนเพลีย กระสับกระสาย ปวดศีรษะ ความดันโลหิตสูง หัวใจเต้น คลื่นไส้ ท้องผูกหรือท้องร่วง ปากแห้ง มีผื่นขึ้นตามร่างกาย
การพยาบาล
ให้หลีกเลี่ยงกาทำงานที่เกี่ยวกับเครื่องจักรกลและการขับรถขณะรับประทานยา
4.สังเกตภาวะโซเดียมในเลือดสูงและโปแตสเซียมในเลือดตโดยเฉพาะในผู้ป่วยเพราะอาจทำให้เกิดอันตรายได้
หากต้องการป้องกันอาการอาเจียนขณะรับประทานอาหารต้องให้รับประทานยาก่อนอาหารประมาณ 30 นาที
ควรเก็บยาไว้ในขวดสีชา เพื่อป้องกันไม่ให้ถูกแสง สำหรับยาฉีดหากใช้ไม่หมดให้ทิ้งไปห้ามเก็บไว้ใช้อีก เพราะยาเสื่อมสภาพเมื่อถูกแสง
Tramal 50 mg IV PRN q 8 hrs
กลุ่มยา แก้ปวด
เป็นสารสังเคราะห์ที่มีฤทธิ์
ระงับอาการปวดได้ค่อนข้างดี แต่มีผลกดการ
หายใจและระบบไหลเวียนเลือดน้อยมาก มีผล
การออกฤทธิ์และมีระยะเวลาในการออกฤทธิ์
นานใกล้เคียงกับมอร์ฟิน
ผลข้างเคียง
อาจทำให้เกิดอาการง่วงซึม เวียนศีรษะ คลื่นไส้อาเจียน อาจทำให้เกิดอาการชัก
ได้
การพยาบาล
ติดตามผลข้างเคียง เช่น มึนงง ง่วงนอน การมองเห็นไม่ชัด (หลีกเลี่ยงการขับรถ) คลื่นไส้(รับประทานยาพร้อมอาหารรับประทานอาหารทีละน้อยบ่อยครั้ง) เป็นต้น
รายงานให้แพทย์ทราบ หากผู้ป่วยมีอาการคลื่นไส้ มีน ท้องผูกอย่างรุนแรง
ceftriaxone 2 g V.
bid x 7 doses
กลุ่มยา ปฏิชีวนะเป็นยาปฏิชีวนะในกลุ่มยาเซฟาโลสปอริน(Cephalosporin) ที่ออก
ฤทธิ์ฆ่าเชื้อแบคทีเรียด้วยการทำลายผนังเซลล์ทำให้แบคทีเรียตาย ใช้ในผู้ป่วยมีการติดเชื้อแบคทีเรียกระจายลุกลามไปทั่ว
ผลข้างเคียง
มีอาการบวมแดงเจ็บปวดในบริเวณที่ถูกฉีดยา ท้องร่วง หรือคลื่นไส้อาเจียน
เล็กน้อย แต่หากอาการที่เป็นผลข้างเคียงปรากฏขึ้นและไม่หายไป อาการทรุดหนักลงผู้ป่วยควรปรึกษาแพทย์ หรือพบแพทย์เพื่อหาการตรวจรักษาทันทีเมื่อมีอาการป่วยที่รุนแรงขึ้น
การพยาบาล
-การบริหารยาทางI.M. ต้องฉีดแบบdeep I.M. เข้ากล้ามเนื้อมัดใหญ่และต้องตรวจสอบวาปลายเข็มไม่แทงเข้าหลอดเลือดก่อนฉีดยา ความเข้มข้นที่แนะนำคือ 250 mg/mLหรือ350 mg/mL
-การบริหารยาทางI.V. ต้องหยดยาแบบ intermittent infusion นานกว่า 30 นาที
Paracetamol 500 mg for fever and pain q 4-6 hrs.
การออกฤทธิ์ยับยังการสังเคราะห์Prostaelandinsในระบบประสาทส่วนกลางได้ดีแต่ยับยังการสร้างสารนี้ที่บริเวณนอกสมองได้น้อย
ผลข้างเคียง
ง่วงซึม แพ้ยา เช่น
มีผื่น บวม เป็นแผลที่เยื่อบุช่องปาก มีไข้ในขนาดที่มากเกินไปอาจทาให้เกิดตับวายและถึงแก่ความตายได้
การพยาบาล
ควรดื่มนา หรือรับประทานอาหารเหลวบ่อยๆเพื่อช่วยลดความร้อน ไม่ควรดื่มนาผลไม้หรือเครื่องดื่มที่มีฤทธิ์เป็นกรดหลังรับประทานยา
ไม่ซื้อยารับประทานเองและไม่ใช้ยาเป็นเวลานาน เพราะอาจทำให้รับประทานยาเกินขนาดเกิดพิษและอาการข้างเคียง
ระวังการใช้ยาในผู้ป่วยโรคตับและผู้ที่ติดแอลกอฮอล์
Oroantral fistula
พยาธิสภาพที่ตรงกับผู้ป่วย
จาก CT scan พบความผิดปกติ : พบลักษณะของของเหลวที่ถูกหุ้มอยู่ในถุงบางๆ ภายใน Maxillary sinus ด้านขวา และพบวัตถุสีขาวที่มีความขาวคล้าย กระดูกอุดอยู่ที่ทางเปิดของ Maxillary sinus ด้านขวา ส่วน Maxillary sinus ด้านซ้ายเป็นปกติ และลักษณะโครงสร้างภายในโพรงจมูกบริเวณอื่นเป็นปกติ
ภาวะที่มีการติดต่อกันระหว่างช่องปากและโพรงอากาศ Maxilla
พยาธิ
ความผิดปกติจะทำให้มีรูเชื่อมต่อระหว่างอวัยวะทั้งสองเรียกว่าทางเชื่อมระหว่างโพรงอากาศแม็กชิลลาและช่องปาก (Oro-Antral Communication, OAC) กรณีที่รูทะลุอยู่เป็นเวลานานจะเกิดการสร้างเนื้อเยื่อบุผิว(capithelium) ขึ้นมาปกคลุมทำให้เกิดเป็นช่องท างติดต่อถาวร (oro-antral Fistula, OAF)
ลักษณะกายวิภาคของโพรงอากาศ Maxillary sinus
เป็นไซนัสที่มีขนาดใหญ่ที่สุดมีรูปร่างคล้ายปีรามิดอยู่ในกระดูก maxilla การเจริญเมื่ออายุได้ 3 เดือน สามารถมองเห็นในภาพ x-ray ได้ตั้งแต่แรกเกิด เหมือน ethmoid sinus จนถึงบริเวณ infraorbital foramen เมื่ออายุ 1-2 ปี และมีขนาดโดเต็มที่เมื่ออายุ 15 ปี พื้นล่างของโพรงอากาศนี้จะเจริญลงมา
อยู่ในระดับเดียวกับพื้นของโพรงจมูก เมื่อเด็กอายุประมาณ 12 ปี
maxillary sinus มีรูเปิด (natural ostium) บริเวณ middleบางครั้งอาจมี accessory ostium เปิดเข้ามาในบริเวณ middle meatus ได้ maxillary sinus มี ความสัมพันธ์ทางกายวิภาคกับฟันบน ซึ่งอยู่บริเวณ floor ของ maxillary sinusโดยเฉพาะ second premolar และ first และ second molar เนื่องจากมีเพียงกระดูกแผ่นบาง ๆ กั้นระหว่างฟันซี่เหล่านี้กับ maxillary เท่านั้น
สาเหตุ
การถอนฟัน
อุบัติเหตุ โดยอาจเกิด fistulaหลังจากมีแผลทะลุบริเวณhard palateเช่นมีการหักของกระดูกบริเวณใบหน้า (maxillary fracture)
เนื้องอกใน maxillary sinusอาจกัดกร่อนพื้นของ maxillary sinus แล้วทะลุเข้ามาในช่องปาก
อาการ
ปวดตื้อๆ บริเวณโหนกแก้ม มีอาการคัดจมูก น้ำมูกสีเหลืองเขียว มีเสมหะในคอ อาจมีหนองไหลออกมาในช่องปาก ทำให้มีกลิ่นเหม็น หรือเวลาดื่มน้ำ จะมีน้ำไหลเข้าไปในช่องจมูกได้ก่อนกลืน หรือดูดน้ำโดยใช้หลอดลำบาก เนื่องจากต้องทำให้เกิด negative intraoral pressure ขนาคที่สูงกว่าปกติ
ภาวะแทรกซ้อน
การระบายของ maxillary sinusเข้าไปในช่องจมูกเป็นไปได้ไม่ดี เช่น อาจมีการอุดกั้นบริเวณ osteomeatal complexหรือรูของ inferior antrostomy ตีบแคบ
ไม่ได้เอา necrotic tissue,osteomyelitic bone, infected antralmucosa, epithelium bridge ระหว่างmaxillary sinus กับ oral cavity ออก ทำให้ยังมีการติดเชื้อหลงเหลืออยู่
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ไม่สุขสบายจากการมีไข้ เนื่องจากมีการติดเชื้อที่บริเวณ right Maxillary sinus
เกณฑ์การประเมิน
-ไม่มีไข้
-T = 36.5 -37.4 องซาเซลเซียส
วัตถุประสงค์
ให้ผู้ป่วยสุขสบายและมีอุณหภูมิร่างกายอยู่ในเกณฑ์ปกติ
การพยาบาล
วัดและจดบันทึกอุณหภูมิทุก 4 ชั่วโมง โดยการวัดอุณหภูมิทางรักแร้นาน 3-5 นาที ลงบันทึกไว้ เพื่อดูการดำเนินของไข้และให้การช่วยเหลือต่อไป
เช็ดตัวลดไข้ โดยวิธีที่ถูกต้องดังนี้
2.1 เช็ดตัวโดยใช้น้ำเย็นธรรมดา การเช็ดตัวต้องเช็ดนาน 15- 30 นาที ซึ่งวิธีนี้เป็นการทำให้ความร้อนสูญเสียไปจากร่างกายได้สะดวกและรวดเร็ว โดยวิธีอาศัยตัวกลาง (Conduction)ซึ่งจะ
ลดไข้ใด้เร็วขึ้น เพราะน้ำที่ระเหยออกจากผิวหนังจะนำความร้อนออกจากร่างกายด้วยในขณะที่ใช้ผ้าชุบน้ำวางลงบนผิวหนังของผู้ป่วย
2.2 ขณะทำการเช็ดตัว ใช้ผ้าถูตัววางบริเวณซอกกอ รักแร้ ข้อพับ หน้าอก เพื่อให้บริเวณนี้ได้สัมผัสน้ำมากที่สุด จะช่วยนำความร้อนออกจากร่างกายได้มาก
2.3 หลังเช็ดตัวแล้ว 30 นาทีวัดอุณหภูมิใหม่และบันทึกในฟอร์มปรอทเพื่อติดตามผลการพยาบาล
ดูแลไห้ผู้ป่วยได้รับสารน้ำชดเชยอย่างเพียงพอ น้ำดื่มควรเป็นสารละลาย ORS หรือน้ำผลไม้ใส่เกลือ ไม่ควรดื่มน้ำเปล่า เพราะจะทำให้มีภาวะโซเดียมต่ำ
ให้ผู้ป่วยพักผ่อนในสิ่งแวดล้อมที่สงบเงียบ เพื่อเป็นการลดกิจกรรม
ของร่างกาย จะทำให้การเผาผลาญลดน้อยลง ซึ่งจะช่วยลดความร้อนที่ผลิตขึ้นในร่างกายได้
5.ไม่ห่มผ้าหนาเกินไป เพื่อให้ความร้อนระบายออกจากร่างกายได้ง่าย
หลังเช็ดตัวลดไข้แล้ว ถ้าไข้ไม่ลง ดูแลให้รับประทานยาParacetamol 500 มิลลิกรัมครั้งละ 2 เม็ด เพื่อลดไข้ตามแผนการรักษา
สูญเสียภาพลักษณ์ เนื่องจากมีหนองออกทางปากและมีกลิ่นเหม็น
วัตถุประสงค์
-ผู้ป่วยสามารถปรับตัวและยอมรับภาพลักษณ์ที่เปลี่ยนแปลงได้
เกณฑ์การประเมิน
-ผู้ป่วยบอกความรู้สึกที่มีคุณค่าต่อตนเอง เข้าใจยอมรับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
-ผู้ป่วยสนใจในการดูแลตนเอง
การพยาบาล
เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยระบายความรู้สึกออกมาโดยรับฟังอย่างตั้งใจ
2.อธิบายให้ผู้ป่วยและญาติเข้าใจเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในแต่ละระยะของการหายของแผลรวมทั้งแนวทางการรักษาของแพทย์
แนะนำญาติของผู้ป่วยไม่ให้แสดงท่าที่รังเกียจหรือหวาดกลัวต่อสภาพที่ผู้ป่วยเป็นอยู่
กระตุ้นให้ญาติของผู้ป่วยให้มีส่วนร่วมในการช่วยเหลือผู้ป่วยเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวตามคำแนะนำ เพื่อฟื้นฟูสภาพของร่างกายที่เปลี่ยนแปลง
5.ให้กำลังใจผู้ป่วยเมื่อบาดแผลดีขึ้นและชมเชยเมื่อผู้ป่วยปฏิบัติตัวได้ถูกต้อง
ไม่สุขสบายเนื่องจากปวดบริเวณใบหน้าด้านขวาตรงข้างจมูกและปวดฟันข้างขวา
วัตถุประสงค์
-เพื่อบรรเทาอาการปวด
เกณฑ์การประเมิน
-ประเมินระดับความปวด Pain scoreลดลง
-ผู้ป่วยไม่มีอาการแสดงของการเจ็บปวด เช่น ชีพจรเต้นเร็ว ความดันโลหิตสูง กระสับกระส่าย คลำบริเวณที่ปวด
-ผู้ป่วยสามารถนอนหลับพักผ่อนได้อย่างน้อย 6-8ชม./วัน
การพยาบาล
1.ประเมินระดับความปวดของผู้ป่วย ใช้ pain score ในการประเมินและสังเกตอาการ
ดูแลให้ยาพาราเซตามอล 500 มิลลิกรัมครั้งละ 2 เม็ด เพื่อบรรเทาอาการปวดเมื่อมีระดับความเจ็บปวดปานกลางถึงระดับรุนแรง
จัดให้ผู้ป่วยนอนในท่าที่สุขสบาย จัดบริเวณรอบ ๆเตียงให้สงบเพื่อให้ผู้ป่วยได้
4.ให้การพยาบาลด้วยความนุ่มนวล เพื่อให้ผู้ป่วยเกิดการเจ็บปวดน้อยที่สุด
การพยาบาลก่อนการผ่าตัด
วัตถุประสงค์
-เพื่อให้ผู้ป่วยเข้าใจและปฏิบัติตาม
คำแนะนำก่อนผ่าตัด
เกณฑ์การประเมิน
-ผู้ป่วยเข้าใจและปฏิบัติตัวได้อย่างถูกต้อง
ก่อนได้เข้ารับการผ่าตัด
การพยาบาล
1.แจ้งและอธิบายให้ผู้ป่วยทราบว่าจะทำการผ่าตัดนำเอารากฟันที่อยู่ไปในโพรงอากาศออก หลังผ่าตัดอาจมีอาการปวดและชาบริเวณแผลได้
2.ให้ผู้ป่วยงดรับประทานอาหารและเครื่องดื่มทุกชนิดอย่างน้อย 8 ชั่วโมงก่อนผ่าตัด
3.ให้ผู้ป่วยแปรงฟัน อาบน้ำ สระผม ล้างหน้าให้สะอาด งดการใช้ครีมและเครื่องสำอางทุกชนิดฝากไว้
4.ก่อนผ่าตัดให้ผู้ป่วยถอดของมีค่าต่าง ๆ เครื่องประดับทุกชนิด เช่น แหวน สร้อยคอ สร้อยข้อมือ ต่างหูแว่นตา นาฬิกา คอนแทคเลนส์และฟันปลอม(ชนิดถออกได้) เพื่อป้องกันการหลุดของฟันปลอมเข้าไปอุดหลอดลมขณะผ่าตัดโดยเก็บไว้ที่ญาติผู้ป่วย
5.ถ่ายปัสสาวะ อุจจาระให้เรียบร้อยก่อนเข้ารับการผ่าตัด
6.ติดป้ายข้อมือตรวจสอบ- สกุลชื่อ วัน/เดือน/ปีเกิดของผู้ป่วยว่าตรงไหม
7.เตรียมเบิกยาฆ่าเชื้อ Ceftriaxone 1 g IV ก่อนไปห้องผ่าตัด
เก็บเลือดส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการCBC, BUN ,Cr, FBS , Electrolyte ,anti HIV พร้อมกับเตรียมเลือด 2 unit
9.ให้สารน้ำ 5%D/N/2 1,000 ml rate 80 cc/hr
10.วัดสัญญาณชีพก่อนไปห้องผ่าตัด
11.เตรียมแผนฟิล์มเอกซเรย์รากฟันไปที่ORให้เรียบร้อยก่อนเข้าห้องผ่าตัด
การพยาบาลหลังการผ่าตัด
วัตถุประสงค์
-เพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนหลังการผ่าตัด
เกณฑ์การประเมิน
-ไม่มีการเกิดภาวะแทรกซ้อนหลังการผ่าตัด
การพยาบาล
1.บันทึกทึกVital sing
• วัดทุก 15 นาที x 4ครั้ง เมื่อไม่มีการเปลี่ยนแปลงให้วัดทุก30 นาที
• วัดทุก30 นาทีx4ครั้ง เมื่อไม่มีการเปลี่ยนแปลงให้วัดทุก 1 ชั่วโมง
• วัดทุก 1 ชั่วโมง x 4ครั้ง เมื่อไม่มีการเปลี่ยนแปลงให้วัดทุก 4 ชั่วโมงประกอบไปด้วยค่าความดันโลหิตปกติอยู่ที่ 120/80 mmHg อุณหภูมิร่างกายปกติอยู่ที่ 36.5-37.4 องศา ชีพจรปกติอยู่ที่80-100 ครั้ง/นาที อัตราการหายใจปกติอยู่ที่16-20 ครั้ง/นาที
2.ห้ามดึงวัสดุห้ามเลือดออกในโพรงจมูกออก
3.ให้กลั้วคอด้วยน้ำเกลือปราศจากเชื้อ
4.บวมให้ประคบด้วยน้ำเย็น จัดท่านอน 45-60 องศา
5.ถ้ามีเลือดกำเดาไหลลงคอให้บ้วนลงชามรูปไต
6.อธิบายให้ผู้ป่วยทราบอาจมีอาการหูอื้อได้ แต่จะหายเมื่อเอาตัวกดห้ามเลือดออกหลังใส่ 48-72 ชั่วโมง
เสี่ยงต่อการติดเชื้อที่แผล เนื่องจากการผ่าตัด Endoscopic sinus surgery (ESS)
วัตถุประสงค์
-เพื่อไม่ให้เกิดการติดเชื้อหลังการ ผ่าตัด
เกณฑ์การประเมิน
-ประเมินระดับความปวด Pain score เท่าไหร่
-ผู้ป่วยไม่มีอาการแสดงของการ เจ็บปวด เช่น ชีพจรเต้นเร็ว ความ ดันโลหิตสูง กระสับกระส่าย คลำบริเวณที่ปวด
-ผู้ป่วยสามารถนอนหลับพักผ่อน ได้อย่างน้อย 6-8ชม./วัน
การพยาบาล
1.ประเมินแผลบริเวณแผลผ่าตัด และสังเกตลักษณะบาดแผล
2.บันทึกสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง โดยเฉพาะอุณหภูมิ ร่างกาย(Temperature)เพื่อประเมินภาวการณ์ติดเชื้อ
3.ล้างมือก่อนและหลังทุกครั้งให้การพยาบาลและให้การ พยาบาลโดยใช้หลัก Aseptic Technique
4.ดูแลให้ยา ceftriaxone 2 g V .bid x 7 doses เพื่อรักษา อาการติดเชื้อตามแผนการรักษา และสังเกตผลข้างเคียง ของยา
5.ดูแลให้ยาแก้ปวด Paracetamol 500 มิลลิกรัม ครั้งละ 2 เม็ดตามแผนการรักษา เพื่อบรรเทาอาการปวด
6.)สังเกตผลข้างเคียงของยา เพื่อดูว่ามีอาการบวมแดงเจ็บปวดในบริเวณที่ถูกฉีดยา ท้องร่วง หรือคลื่นไส้อาเจียนหรือไม่
ผู้ป่วยติดเชื้อในโพรงไซนัส
วัตถุประสงค์
-เพื่อลดการติดเชื้อในร่างกาย
เกณฑ์การประเมิน
WBC อยู่ในเกณฑ์ปกติ
( 5-10 x 10.3/uL)
Neutrophil อยู่ในเกณฑ์ปกติ (40-45 %)
Lymphocyte อยู่ในเกณฑ์ปกติ (20-40 %)
-ไม่มีหนองบริเวณโพรงไซนัส
การพยาบาล
ประเมินอาการปวด บวม แดง บริเวณ Rt.Maxillary sinus และสัญญาณชีพโดยเฉพาะอุณหภูมิร่างกาย
2.ประเมินสารคัดหลั่งที่ออกมาจากจมูกว่ามีสีกลิ่นและลักษณะที่ผิดปกติหรือไม่
3.ล้างมือก่อนและหลังทุกครั้งที่ให้การพยาบาลและการพยาบาลด้วยหลัก Aseptic technique
ดูแลให้ได้รับยา ceftriaxone 2 g V. bid x 7 doses เพื่อรักษาอาการติดเชื้อ ตามแผนการรักษาและสังเกตผลข้างเคียงของยา
ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
อาจจะส่งผลต่อการนอนหลับ เนื่องจากมีอาการปวดจากพยาธิสภาพบริเวณRt.Maxillary sinus
วัตถุประสงค์
-เพื่อให้ผู้ป่วยนอนหลับผักผ่อนได้เพียงพอ
เกณฑ์การประเมิน
-ผู้ป่วยสามารถนอนหลับผักผ่อนได้ 6-8 ชั่วโมงต่อวัน
-ไม่มีอาการง่วงนอน หงุดหงิดหรือหาวนอน
การพยาบาล
1.จัดสิ่งแวดล้อมให้ผู้ป่วยรู้สึกสบาย ผ่อนคลายและลดปัจจัยที่ทำให้นอนไม่หลับ เช่น อาการเจ็บปวด แสง เสียง
2.วางแผนให้การพยาบาล โดยไม่รบกวนผู้ป่วยขณะหลับ
3.ก่อนและหลังให้การพยาบาทุกครั้งให้การพยาบาลด้วยหลัก Aseptic technique
4.ดูแลให้ได้รับยา tramal 500 มิลลิกรัม IV prn q 8 hrs เพื่อลดอาการปวดตามแผนการรักษาและสังเกตผลข้างเคียงของยา
5.แนะนำการเคลื่อนไหวของร่างกายให้ถูกต้องเพื่อลดอาการปวด เช่น จัดท่านอนให้สุขสบาย
6.พูดคุยและสัมผัสอย่างอ่อนโยนให้การพยาบาลด้วยท่าทีนุ่มนวล
ส่งเสริมการปฏิบัติตัวผู้ป่วยหลังการกลับบ้าน
วัตถุประสงค์
-เพื่อให้ผู้ป่วยเข้าใจและปฏิบัติตัวภายหลังบ้านได้ถูกต้อง
เกณฑ์การประเมิน
-ผู้ป่วยเข้าใจในสิ่งที่พยาบาลแนะนำและสามารถปฏิบัติตัวได้ถูกต้อง
การพยาบาล
1.ให้ความรู้เรื่องสาเหตุ อาการ การปฏิบัติตัวที่ถูกต้องของการผ่าตัดเอาฟันออกจาก maxillary sinus
2.แนะนำการใช้ยาที่ผู้ป่วยได้รับอย่างละเอียดสรรพคุณของยา ขนาด วิธีการใช้ ข้อควรระวังในการใช้ยาตลอดจนการสังเกตภาวะแทรกซ้อนรวมทั้งข้อห้ามการใช้ยา
3.แนะนำการจัดการสิ่งแวดล้อมที่บ้านให้เหมาะสมกับภาวะสุขภาพให้เหมาะสม ให้ผู้ป่วยอยู่ในบริเวณที่อากาศถ่ายเทสะดวก
4.แนะนำการดูแลรักษาแผลบริเวณจมูก รวมทั้งการเฝ้าสังเกตอาการตนเอง การมาตรงตามนัดแพทย์ การรับประทานอาหาร ควรรับประทานอาหารที่อ่อนไม่ร้อนไม่เผ็ด หากมีอาการผิดปกติให้มาพบแพทย์
5.แนะนำการส่งเสริมฟื้นฟูสภาพทางด้านร่างกายและจิตใจไม่ให้ผู้ป่วยเกิดความเครียดระหว่างพักรักษาตลอดจนการป้องกันภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ
6.การมาตรวจตามนัด การติดต่อขอความช่วยเหลือจากสถานพยาบาลใกล้บ้าน ในกรณีเกิดภาวะฉุกเฉินตลอดจนการส่งต่อผู้ป่วยให้ได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่อง
7.แนะนำการเลือกรับประทานอาหารเหมาะสมกับภาวะร่างกาย ไม่รับประทานอาหารที่มีรสเผ็ดจัด ร้อน แนะนำให้รับประทานอาหารอ่อนๆ และหลีกเลี่ยงอาหารที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
การรักษา
การผ่าตัดโพรงจมูกและไซนัสด้วยกล้องเอ็นโดสโคป (Endoscopic Sinus Surgery: ESS)
คือ การผ่าตัดเพื่อรักษาโรคต่าง ๆในโพรงจมูกและไซนัส
Endoscopic sinus surgery เป็นการผ่าตัดโดยใช้กล้องเป็นเลนส์แท่งยาว( Endoscope )สำหรับสอดเข้าไปทางรูจมูก เพื่อนำแสงและจับภาพมายังสายตาของแพทย์ผ่าตัดและขณะเดียวกันแพทย์สามารถทำงานโดยเครื่องมือเล็กๆ ( Forceps) ภายในช่องจมูกโดยสามารถเห็นภาพขณะทำโดยละเอียด