Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
องค์ความรู้ที่ได้หน่วยที่ 1 ถึงหน่วยที่ 6 - Coggle Diagram
องค์ความรู้ที่ได้หน่วยที่ 1 ถึงหน่วยที่ 6
หน่วยที่ 2 พฤติกรรมทางการศึกษา
การจำแนกพฤติกรรมทางการศึกษา
ด้านพฤติกรรมจิตพิสัย
เป็นการศึกษาเกี่ยวกับ ความรู้สึก บุคลิกภาพหรือลักษณะของตัวผู้เรียน เป็นการวัดที่ยากและต้องใช้เวลานาน
ขั้นเห็นคุณค่า หรือสร้าค่านิยม ยึดกฎเกณฑ์ของกลุ่ม หรือการให้สังคมมาตัดสินใจ มีอิทธิพลต่อพฤติกรรม
ขั้นจัดระบบค่านิยม เป็นการจัดความสำคัญ กลายเป็นแนวทางการประพฤติปฏิบัติ
ขั้นตอบสนอง เป็นการตอบสนองต่อสิ่งเร้า ว่ามีความรู้สึกยังไง สังเกตจากการกระทำ
ขั้นสร้างลักษณะนิสัยจากค่านิยม เมื่อค่านิยมต่าง ๆ สามารถสัมพันธ์กันแล้ว จะมีการพัฒนาบุคลิกภาพ ของผู้เรียน
ขั้นรับรู้ เกิดจากการรับรู้สิ่งเร้า หรือสถานการณ์ต่าง ๆ ให้รู้สึกสนใจ
ด้านทักษะพิสัย
การริเริ่ม เป็นขั้นสูงสุดของการพัฒนาทักษะ ซึ่งบุคคลสามารถ สร้างสรรค์ผลงานใหม่ ด้วยวิธีการใหม่ที่ตนคิดขึ้นมา โดยใช้สติปัญญาร่วมกับประสบการณ์
การดัดแปลง หลังจากที่สามารถปฏิบัติได้ย่างชำนาญแล้วเมื่อ บุคคลต้องแก้ปัญหา บ่อยๆ ก็จะพัฒนาวิธีการเดิมให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เพื่อลดขั้นตอน ลดเวลา หรือ เพิ่มคุณภาพผลงาน
การตอบสนองที่ซับซ้อนเป็นขั้นที่สามารถ กระทำหรือปฏิบัติงาน ที่ซับซ้อนได้ แม้จะต้องใช้ทักษะขั้นสูงก็สามารถทำได้อย่างชำนาญ
การปฏิบัติได้ด้วยตนเอง คือการที่บุคคลสามารถปฏิบัติงานได้ ด้วยความเชื่อมั่นในตนเอง มีผลสัมฤทธิ์ที่น่าพอใจ
การตอบสนองตามแนวชี้แนะ เป็นการเริ่มพัฒนาทักษะ โดยการแสดง พฤติกรรมเลียนแบบตามผู้แนะนำหรือครู ในขั้นนี้จะเป็นขั้นลองผิดลองถูก
การเตรียมความพร้อม คือการเตรียมตัวกระทำหรือการปรับตัวให้อยู่ในสภาพพร้อมที่
การรับรู้ เป็นจุดเริ่มต้นของการเกิดพฤติกรรม ด้านการรับ สัมผัสสิ่งเร้าผ่านทางประสาทสัมผัสต่างๆ เช่น หู ตา จมูก ลิ้น ผิวกาย
ด้านพฤติกรรมพุทธิพิสัย
เป็นการวัดความสามารถของสมอง
ความรู้
ความเข้าใจ
การนำไปใช้
การวิเคราะห์
การสังเคราะห์
การประเมินค่า
คุณภาพผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
วิสัยทัศน์ จุดหมาย สมรรถนะสำคัญของนักเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มาตรฐานการเรียนรู้ (มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด) กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
มาตรฐานการเรียนรู้ที่กำหนดไว้ในแต่ละกลุ่มสาระการ เรียนรู้เป็นเป้าหมายสำคัญของการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ระบุสิ่งผู้เรียนพึงรู้และปฏิบัติได้มีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยม
ตัวชี้วัด จะระบุสิ่งที่ผู้เรียนพึงรู้และปฏิบัติได้ รวมทั้ง คุณลักษณะของผู้เรียน ในแต่ละระดับชั้น
แต่ละกลุ่ม สาระก็จะพบว่ามีครอบคลุมทั้ง 3 ด้าน
ด้านพุทธิพิสัย (K) ด้านจิตพิสัย (A)และด้านทักษะพิสัย (P)
หน่วยที่ 4 เครื่องมือที่ใช้ในการวัดผล
การวัดและประเมินผลทางการศึกษาเป็นการใช้เครื่องมือมาวัดพฤติกรรมทางการศึกษา ในตัวผู็เรียนและนำมาทียบกับเกณฑ์เพื่อตัดสิน ว่าผู้เรียนมีความก้าวหน้า พัฒนาขึ้น หรือผ่านเกณฑ์หรือไม่
พฤติกรรมและลักษณะการแสดงออก
ด้านพุทธิพิสัย
การวิเคราะห์
การนำไปใช้
ความเข้าใจ
การสังเคราะห์
ความรู้-ความจำ
ประเมินค่า
ด้านจิตพิสัย
การเกิดค่านิยม
ขั้นจัดระบบคุณค่า
ขั้นตอบสนอง
การสร้างลักษณะนิสัย
ขั้นรับรู้
เครื่องมือในการวัดพฤติกรรมทางการศึกษา
การสังเกต
สังเกตจากการมีส่วนร่วม
สังเกตจากการไม่มีส่วนร่วม
การสังเกตแบบไม่มีโครงสร้าง
การสังเกตแบบมีโครงสร้าง
การสัมภาษณ์
การสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง
การสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้าง
แบบวัดเชิงสถานการ์
ให้บุคคลแสดงความรู้สึก หรือแสดงพฤติกรรมด้านสติปัญญา
ตอบสนองว่าตัวผู้เรียนจะทำอย่างไร
แบบสอบถาม
นิยมใช้ในการเก็บข้อมูลด้านสังคมศาสตร์
ข้อมูลถามได้ ทั้งอดีต ปัจจุบัน อนาคต
ลักษะณะอยู่ในรูปของคำถามเป็นชุด เพื่อวัดสิ่งต้องการจะวัด
แบบสอบถามปลายเปิด
แบบสอบถามปลายปิด
แบบมาตราส่วนประมาณค่า
การจัดอันดับ
แบบตรวจสอบรายการ
มาตราส่วนประมาณค่า
วัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัยและด้านทักษะพิสัย
สามารถจัดลำดับของพฤติกรรของผู้เรียนได้
การวัดผลภาคปฏิบัติ
การวัดผลงานของนักเรียนที่ลงมือทำ
สามารถวัดได้ทั้งกระบวนการและผลงาน
วัดได้ว่าผู้เรียนมีสติปัญญา และทักษะ กระบวนการในระดับบใด
แบ่งตามลักษณะของสถานการณ์
ใช้สถานการณ์จริง
ใช้สถานการณ์จำลอง
แบ่งตามสิ่งเร้า
สิ่งเร้าตามธรรมชาติ
สิ่งเร้าที่จัดขึ้น
แบ่งตามด้านที่ต้องการวัด
การวัดกระบวนการ
การวัดผลงาน
ตรวจสอบรายการ
วัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัยและด้านทักษะพิสัย
คำถามมจะเป็นคำว่า ใช่/ไม่ใช่
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์หมายถึงแบบทดสอบที่ใช้วัดระดับของความรู้ในเชิงวิชาการที่เป็นผลมาจากการจัดการเรียนการสอน
ประเภทของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ที่ครูสร้างขึ้นเอง
แบบอัตนัย
แบบปรนัย
แบบทดสอบมาตราฐาน
สร้างโดยผู้เชี่ยวชาญ มีคุณภาพ มีมาตราฐานในการดำเนินการสอบ
ขั้นตอนการสร้างแบบทดสอบ
7 ขั้นตอน
1.วิเคราะห์หลักสูตรและสร้างตารางวิเคราะห์หลักสูตร
สร้างแผนผังการทดสอบ
เขียนข้อสอบ
การทดลองใช้
คัดเลือกข้อสอบที่มีความเหมาะสม
จัดพิมพ์ข้อสอบ
ออกแบบการสร้างแบบทดสอบ
หน่วยที่ 1 แนวคิด หลักการ และแนวปฏิบัติในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน
5.ธรรมชาติของวัดผลการศึกษา
การวัดผลการศึกษาเป็นการวัดที่ไม่สมบูรณ์
คือการไม่สามารถวัดผลได้ละเอียดครบถ้วนได้ ยากที่จะออกข้อสอบให้ครอบคลุม
การวัดผลการศึกษาเป็นการวัดทางอ้อม
การวัดผลการศึกษาไม่สามารถวัดได้โดยตรง จึงใช้วิธีสังเกตพฤติกรรม
การวัดผลการศึกษามีความคลาดเคลื่อน
ความคลาดเคลื่อนในการวัดจึงมีเพราะพฤติกรรมของมนุษย์มีความ ซับซ้อน ไม่สามารถจับต้องได้
การวัดผลการศึกษาเป็นการวัดในเชิงสัมพันธ์
วัดผลการศีกษาเปรียบเทียบกับเกณฑ์จึงจะสามารถแปลความหมายได้
การวัดผลการศึกษาเป็นการวัดที่ไม่มีศูนย์แท้หรือศูนย์สมบูรณ์
ผลที่ได้จากการวัด เท่ากับ 0 ไม่ได้แปลว่าผู้เรียนไม่มีความรู้ ผู้เรียนอาจจะมีความรู้แต่ข้อสอบไม่ได้
6.มาตราการวัด
มาตราเรียงอันดับ
เป็นการกำหนดตัวเลข เรียนได้ที่ 1 2 3
มาตราอันตรภาค
สามารถบ่งบอกถึง ปริมาณความแตกต่างได้ เช่น อุณหภูมิ 0 องศา กับ 10 องศา
มาตรานามบัญญัติ
เป็นการจำแนกความแตกต่าง เพศ สถานถาพ
มาตราอัตราส่วน
การวัดในระดับนี้ส่วนใหญ่จะเป็นการวัดทางวิทยาศาสตร์ เช่น น้ำหนัก ส่วนสูง จำนวนเชื้อ
4.จุดมุ่งหมายของการวัดผลการศึกษา
ค้นหาและพัฒนาสมรรถภาพของผู้เรียน
เป็นการวัดของนักเรียนไม่เข้าใจในเรื่องที่สอนหรือนักเรียนมีความรู้มากน้อยแค่ไหน เพื่อค้นหาศักยภาพของผู้เรียน
วินิจฉัย
ประเมินผลการศึกษาเพื่อหาจุดบกพร่องของนักเรียน ไม่เข้าใจในเรื่องใด และหาทางแก้ไข ช่วยเหลือนักเรียน
จัดอันดับหรือตำแหน่ง
เป็นการประเมินจัดอันดับความสามารถ ใครเก่งใครอ่อน ผ่านไม่ผาน
เปรียบเทียบหรือ
ทำให้ทราบพัฒนาการของผู้เรียน
เป็นการประเมินความสามารถของผู้เรียนกับตัวผู้เรียนเอง ว่ามีการพัฒนามากน้อยเพียงใด
พยากรณ์
เป็นการประเมินผลแบบการคาดคะเน ทำนายอนาคตผู้เรียนโดยใช้ แบบทดสอบความถนัด
ประเมิน
ประเมินผลการศึกษาเพื่อตัดสิน สรุปคุณภาพของผู้เรียน และควรปรับปรุงตรงไหน
7.ขอบข่ายในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน
หลักการในการวัดผลการศึกษา
กระบวนการวัดผลและประเมินผลการศึกษา
กำหนดวัตถุประสงค์-กำหนดจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม-สร้างเครื่องมือวัดผลการเรียนรู้-ทดสอบและเก็บข้อมูล-จัดกระทำกับข้อมูล-ตัดสินผลการเรียน
3.ความสัมพันธ์ระหว่างการวัดและประเมินผลกับกระบวนการเรียนการสอน
องค์ประกอบที่สำคัญ
จุดประสงค์การเรียนรู้
กิจกรรมการเรียนการสอน
การวัดและประเมินผล
คำที่มีความหมายกับการประเมิน
Evaluation
การตัดสินผู้เรียนจากพฤติกรรมทางการศึกษาได้วัดได้โดยเทียบ กับเกณฑ์หรือมาตรฐานทางการศึกษาที่กำหนดเอาไว้ เพื่อตัดสินว่าผู้เรียนนั้นมีพฤติกรรมทางการศึกษาอยู่ในระดับใด
Assessment
ปรับปรุงและพัฒนาการเรียนการสอน การประเมินที่ได้มาจากแหล่งต่าง ๆ เช่น จากครูผู้สอน จากผู้ปกครอง จากเพื่อนหรือจากผู้เรียนเอง เน้นการประเมินแบบสภาพจริง
8.การกำหนดวัตถุประสงค์ในการประเมินและสิ่งที่ประเมิน
การกำหนดสิ่งที่จะประเมิน
การกำหนดสิ่งที่จะต้องประเมินหรือพฤติกรรมที่ต้องการจะประเมิน ในการจัดการศึกษาเพื่อให้บรรลุความสำเร็จ
ประเภทของการประเมินผล
จําแนกตามวัตถุประสงค์ของการประเมิน
1.การประเมินผลก่อนเรียน 2.การประเมินผลระหว่างเรียน 3.การประเมินสรุป
จำแนกตามระบบการวัดผล
1.การประเมินแบบอิงกลุ่ม 2. การประเมินแบบอิงเกณฑ์
2.องค์ประกอบของการวัดและการประเมินผล
องค์ประกอบของการประเมิน
ข้อมูลที่ได้จากการวัด
เกณฑ์ในการวัด
การตัดสินใจ
องค์ประกอบของการวัด
เครื่องมือวัดหรือเทคนิคที่ใช้เก็บข้อมูล
ข้อมูลที่ได้จากการวัด
ปัญหาหรือสิ่งที่เราจะวัด
9.ประโยชน์ของการประเมินผลการศึกษา
จะทราบว่าผู้เรียนบรรลุตามวัตถุประสงค์การจัดการเรียนการสอนหรือไม่นั้น ต้องอาศัยการวัดและ ประเมินผลการเรียนรู้ และข้อมูลที่ได้จากการวัดและประเมินผลการเรียนรู้จะทำให้ครูผู้สอนสามารถปรับปรุงการ เรียนการสอนและนำไปใช้
1.ความหมายของการวัดผล การทดสอบและการประเมินผล
การวัดผล หมายถึง การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ด้วยตัววัดผล มีวิธีที่ชัดเจน เพื่อให้รู้ถึงความก้าวหน้าที่ได้เรียนรู้
การวัดผลทางการศึกษา หมายถึง ความสามารถที่เกิดจากการจัดการเรียนการสอนของคุณครู โดยการใช้เครื่องมือการวัดที่เหมาะสม
การทดสอบ หมายถึง การวัดผลทางการศึกษา ใช้การวัดคือ แบบทดสอบ เป็นเครื่องมือที่ค่อนข้างมีคุณภาพ
การประเมินผล หมายถึง การตัดสิน ที่ได้จากการวัดผล โดยมีเกณฑ์หรือมาตรฐานกำหนดไว้
หน่วยที่ 6 แนวทางการวัดและประเมินสำหรับนักเรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษทางการศึกษา
หลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้สำหรับนักเรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้สำหรับนักเรียนที่มีความต้องการจําเป็นพิเศษทางการศึกษา
การวัดและการประเมินผลการเรียนรู้สําหรับนักเรียนที่มีความต้องการจําเป็นพิเศษทางการศึกษา
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการจัดการเรียนการสอน
สถานศึกษาเป็นผู้รับผิดชอบการวัดและการประเมินผลการเรียนรู้ของนักเรียนที่มีความต้องการ จําเป็น พิเศษทางการศึกษา โดยเปิดโอกาสให้ผู้ที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วม
เปิดโอกาสให้นักเรียนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องตรวจสอบผลการประเมินผลการเรียนรู้
ให้มีการเทียบโอนผลการเรียนระหว่างสถานศึกษาและรูปแบบการศึกษาต่าง ๆ
การประเมินนักเรียนพิจารณาจากพัฒนาการของนักเรียน
ให้สถานศึกษาจัดทำเอกสารหลักฐานการศึกษา เพื่อเป็นหลักฐานการประเมินผลการเรียนรู้รายงาน
แนวทางการวัดและประเมินผลการเรียนรู้สำหรับนักเรียนที่มีความจำเป็นพิเศษ
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระ
การประเมินการอ่านการเขียน คิดวิเคราะห์ เพื่อประเมินศักยภาพ
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ประเมินการลงมือทำและผลงานของนัดเรียน
จุดม่งหมายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้สำหรับนักเรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ
การประเมินพัฒนาการและผลการเรียนรู้ของนักเรียน
การประเมินเพื่อตัดสินผลการเรียน
เกฑณ์การวัดและประเมินผลการเรียนรู้สำหรับนักเรียน
การเลื่อนชั้น
เวลาเรียน ไม่น้อยกว่า 80%
มีผลการประเมินผ่าน
มีผลการประเมิน การอ่าน การเขียน คิดวิเคราะห์ผ่าน
การเรียนซ้ำชั้น
เวลาเรียน ไม่ถึงร้อยละ 80
ผลการประเมินไม่ผ่านเกฑณ์
การให้ระดับผลการเรียน
ใช้ระบบเลขแสดงระดับผลการเรียนเป็น 8 ระดับ
ประเมินเป็นผ่านและไม่ผ่าน
การสอนซ่อมเสริม
นักเรียนมีความรู้และทักษะไม่เป็นไปตามเกฑณ์
การตัดสินผลการเรียน
คุณภาพนักเรียน จะต้องได้รับการประเมิน ให้เหมาะสมกับความบกพร่องของนักเรียน
มิติของการประเมิน จะต้องได้รับการประเมิน ตัดสิน ตามที่กำหนดไว้ในแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP)
เวลาเรียน ไม่น้อยกว่า 80%
เกฑณ์การจบการศึกษา
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 อาจมีการยืดหยุ่นมากกว่านักเรียนทั่วไป
ความสำคัญของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้สำหรับนักเรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ
สิทธิเสรีภาพและความ เสมอภาค ของบุคคลย่อมได้รับความคุ้มครองและบุคคล ย่อมมีสิทธิเสมอกันในการรับการศึกษาไม่น้อยกว่า 12 ปีที่รัฐจะต้องจัด ให้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ โดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย ผู้ยากไร้ผู้พิการหรือทุพพลภาพหรือ ผู้อยู่ในสถานะยากลำบาก ต้องได้รับความคุ้มครองและการสนับสนุนจากรัฐเพื่อให้ได้รับการศึกษา โดยทัดเทียมกันกับบุคคลอื่น และเพื่อความเหมาะสมในการเรียน
แนวปฏิบัติในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้สำหรับนักเรียนที่มีความจำเป็นพิเศษแต่ละประเภท
การประเมินระดับความรู้ ความสามารถพื้นฐาน และความต้องการจําเป็นพิเศษ
การวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
ปรับปรุงพัฒนาแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP)
การจัดทําแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP)
การกําหนดเกณฑ์และแนวทางการวัดและประเมินผลตามแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP)
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและประเมินผล
การประเมิน ทบทวนและปรับปรุง แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP)
การรายงานผลการจัดการศึกษาตามแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP)
ความหมายของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
กลุ่มที่มีความบกพร่องทางการศึกษา 9 ประเภท
เด็กที่มีความบกพร่องทางการเห็น เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา เด็กที่มีความบกพร่องทางร่างกาย หรือสุขภาพเด็กที่มีความบกพร่องทางการพูดและภาษา เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมหรืออารมณ์ เด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ เด็กออทิสติก และเด็กพิการซ้ำซ้อน
กลุ่มเด็กที่มีความสามารถพิเศษ
กลุ่มเด็กด้อยโอกาส
เข้าไม่ถึงระบบการศึกษา
หน่วยที่ 3 การประเมินตามสภาพจริง
กิจกรรมการเรียนการสอน
ครูผู้สอนควรเลือกกิจกรรมให้เหมาะสมกับเนื้อหาและกลุ่มของนักเรียน เพื่อมุ่งพัฒนาผู้เรียน ให้ครบทั้ง 3 ด้าน ด้านพุทธิพิสัย (K) ด้านจิตพิสัย (A)และด้านทักษะพิสัย (P)
เป็นการจัดการเรียนการสอนตามสภาพจริง การใช้สถานการณ์จำลอง บทบาทสมมุติ การถาม-ตอบ
ตัวบ่งชี้ลักษณะการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ทฤษฎีการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับแนวทางการปฏิรูปการศึกษาใน 5 แนวทาง คือ การเรียนรู้อย่างมีความสุข การเรียนรู้แบบมี ส่วนร่วม การเรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิด การเรียนรู้เพื่อพัฒนาสุนทรียภาพและลักษณะนิสัยด้านศิลปะ ดนตรีกีฬา และการฝึกฝนกาย วาจา ใจ
การจัดการเรียนการสอนแบบใหม่
เป็นการจัดการเรียนการสอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง เป็นการเรียนรู้ที่รวดเร็ว ทันข่าวสาร และมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา มีประสิทธิภาพสูงในการศึกษาและพัฒนาผู้เรียน
เน้นการจัดการเรียนการสอนแบบใช้ความคิด มากกว่าเนื้อหาวิชาและผู้สอน
เปิดโอกาสให้ได้ลงมือปฏิบัติจริง การจัดสถานการณ์ต่าง ๆ เพื่อให้ผู้เรียนได้ใช้ความรู้ และเพื่อให้นักเรียนค้นหาศักยภาพของตนเอง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามสภาพจริง
ความหมายของการประเมินตามสภาพจริง
การประเมินผลการเรียนรู้ ความสามารถ ของผู้เรียนโดยให้ผู้เรียนทำกิจกรรมหรือสร้างผลงาน ให้สอดคล้องกับชีวิตประจำวัน
คุณลักษณะของการประเมินตามสภาพจริง
เป็นการประเมินรอบด้านด้วยวิธีที่หลากหลาย ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพ การฝึกความคิดในระดับสูง มีปฏิสัมพันธ์ทางบวก มีการกำหนดมาตราฐานและขอบเขต สะท้อนลักษณะเฉพาะของตัวผู้เรียน
ประโยชน์ของการประเมินตามสภาพจริง
เน้นการใช้ทักษะ ที่สามารถใช้ในชีวิตประจำวัน
ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลและประเภทของผู้เรียนเป็นอย่างดี
การส่งเสริมวิธีการประเมินที่หลากหลาย
เครื่องมือในการเประเมินตามสภาพจริง
การสังเกต
แบบสำรวจรายการ วัดพฤติกรรมการลงมือปฏิบัติแล้วสังเกต
ระเบียนพฤติกรรม วัดพฤติกรรมการลงมือปฏิบัติแล้วสังเกต
แบบมาตราส่วนประมาณค่า วัดลักษณะนิสัย ความรู้สึก
การสัมภาษณ์
แบบบันทึกการสัมภาษณ์ การสอบถามความรู้สึก ความคิด
การสอบถาม
แบบสอบถาม ใช้วัดความต้องการ ความสนใจ
การทดสอบ
แบบเขียนตอบ ทดสอบทักษะ ต่าง ๆ เช่นการอ่าน การเขียน และการสรุป
แบบทดสอบปฏิบัติจริง การสังเกตในสถานการณ์จริง ค่อนข้างใช้เวลานาน เช่นสอบตีแบดมินตัน
การจัการเรียนการสอนแบบเดิม
เป็นการสอนแบบเน้นครูเป็ยศูนย์กลาง เชื่อว่าครูจะสามารถถ่ายทอดความรู้ไปยังผู้เรียน ให้ผู้เรียนนั่งฟังและจำ เพื่อประเมิน โดยการสอบ
จนลืมที่จะค้นหา พัฒนาศักยภาพของผู้เรียนเป็นหลัก
หน่วยที่ 5 เครื่องมือที่ใช้ในการวัดผลในศตวรรษที่ 21
การวัดและประเมินผลสภาพที่แท้จริงของนักเรียน เน้นการปฏิบัติและสัมพันธ์กับการเรียนการสอน ทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียน
แนวทางการวัดและประเมินทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
การวัดและประเมินผลเพื่อพัฒนาผู้เรียน
โดยเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับผลการเรียนและการเรียนรู้ของผู้เรียน ในระหว่างการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่อง
บันทึก วิเคราะห์แปลความหมายข้อมูล แล้วนำมาใช้ในการส่งเสริม หรือปรับปรุงแก้ไขการเรียนรู้ของผู้เรียน
การประเมินระหว่างการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้เช่นนี้เป็นการวัดและประเมินผลย่อย (Formative Assessment) ที่เกิดขึ้นในห้องเรียนทุกวัน
เป็นการประเมินเพื่อให้รู้จุดเด่น จุดที่ต้องปรับปรุง
จึงเป็นข้อมูลเพื่อใช้ในการพัฒนาเน้นเพื่อเป็นข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียนสำหรับการปรับปรุงพัฒนา ดูความก้าวหน้าปัญหาอุปสรรคในการเรียน
ผู้สอนต้องใช้วิธีการและเครื่องมือการประเมินที่หลากหลาย ในการให้ผู้เรียนประเมินตนเอง การให้เพื่อนประเมินเพื่อนและการใช้เกณฑ์การให้คะแนน
สิ่งสำคัญที่สุดในการประเมินเพื่อพัฒนา คือ การให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียนในลักษณะคำแนะนำที่เชื่อมโยง ความรู้เดิมกับความรู้ใหม่ให้ผู้เรียนและสามารถตั้งเป้าหมาย พัฒนาตนเองได้
การวัดและประเมินผลเพื่อตัดสินผลการเรียน
เป็นการประเมินสรุปผลการเรียนรู้
การประเมินเพื่อตัดสินผลการเรียนที่ดีต้องให้โอกาสผู้เรียนแสดงความรู้ความสามารถด้วยวิธีการที่หลากหลายและพิจารณาตัดสินบนพื้นฐานของเกณฑ์ผลการปฏิบัติ มากกว่าใช้เปรียบเทียบระหว่างผู้เรียน
การวัดและประเมินทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21ควรใช้เพื่อการประเมินความก้าวหน้าของพัฒนาการด้านการเรียนรู้ของนักเรียนให้เกิดคุณภาพที่สอดคล้องพัฒนาดีขึ้นไปทิศทางเดียวกันทั้งด้านความรู้ความสามารถด้านทักษะการทำงาน และด้านเจตคติและบุคลิกภาพต่อการทำงาน
จุดเน้นของการวัดและประเมินทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่21
สร้างความสมดุลในการประเมินผลเชิงคุณภาพ
เน้นการนำประโยชน์ของผลสะท้อนจากการปฏิบัติของผู้เรียนมาปรับปรุงแก้ไขงาน
ใช้เทคโนโลยีเพื่อยกระดับการทดสอบวัดและประเมินผลให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด
สร้างและพัฒนาระบบแฟ้มสะสมงาน ของผู้เรียนให้เป็นมาตรฐานและมีคุณภาพ
กรอบแนวคิดทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
การนำทักษะในศตวรรษที่ 21 ทุกทักษะไปใช้นักเรียนทุกคนจำเป็นต้องได้รับการพัฒนา
ความรู้ ความเข้าใจเนื้อหาหลักด้านวิชาการ
นักเรียนสามารถคิดอย่างมีวิจารณญาน
โดยอาศัยการบูรณาการของพื้นฐานความรู้ภายใต้บริบทการสอนความรู้วิชาหลัก
นักเรียนต้องเรียนรู้ทักษะที่จำเป็นเพื่อให้ประสบความสำเร็จในโลก
นักเรียนสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
สาระวิชาหลัก
ความรู้ด้านการเป็นพลเมืองที่ดี
ความรู้เกี่ยวกับการเงิน เศรษฐศาสตร์ ธุรกิจ และการเป็นผู้ประกอบการ
ความรู้ด้านสุขภาพ
ทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม
การคิดอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหา
การสื่อสารและการร่วมมือ
ความริเริ่มสร้างสรรค์และนวัตกรรม
ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี
ความรู้เกี่ยวกับสื่อ
ความรู้ด้านเทคโนโลยี
ความรู้ด้านสารสนเทศ
ทักษะด้านชีวิตและอาชีพ
ความยืดหยุนในการปรับตัว
การริเริ่มสร้างสรรค์และเป็นตัวของตัวเอง
ทักษะสังคมและสังคมข้ามวัฒนธรรม
วิธีการวัดและประเมินทักษะในศตวรรษที่ 21
การประเมินจากการปฏิบัติ
การประเมินตามสภาพจริง
ขั้นตอนในการดำเนินการ
กำหนดกิจกรรมการเรียนการสอนและออกแบบ/สร้างเครื่องมือวัดและประเมินผล
เก็บรวบรวมข้อมูลและใช้ผลการวัดและประเมินเพื่อใช้ในการพัฒนาการเรียน
กำหนดจุดประสงค์การเรียนรู้
การประเมินด้วยการสื่อสารส่วนบุคคล
การประเมินด้วยแฟ้มสะสมงาน
การแสดงถึงผลงานความก้าวหน้าของนักเรียนรวบรวมงานจะต้องครอบคลุมถึงการที่นักเรียนมีส่วนร่วมในการเลือกเนื้อหา เกณฑ์การคัดเลือกและเกณฑ์การตัดสินให้ระดับคะแนนรวมทั้งเป็นหลักฐานที่สะท้อนการประเมินตนเองของนักเรียนด้วย
แนวคิดหลักของการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
ความหมายคุณลักษณะที่เด็กทุกคนมีและใช้ได้อย่างเหมาะสม เพื่อผลักดันให้ผลการปฏิบัติงานบรรลุตาม เป้าหมาย ซึ่งคุณลักษณะเหล่านี้ได้แก่ ความรู้ ทักษะ บุคลิกภาพ แรงจูงใจทางสังคมลักษณะ นิสัยส่วนตัว ตลอดจนรูปแบบความคิดและวิธีการคิด ความรู้สึกและการกระทำ
เป้าหมายการพัฒนาผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
5 ประการ
ความสามารถในการสื่อสาร
ความสามารถในการคิด
ความสามารถในการแก้ปัญหา
ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี