Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเขียนหนังสือสำหรับเด็ก - Coggle Diagram
การเขียนหนังสือสำหรับเด็ก
การวางแผนการเขียน
ศึกษาลักษณะของหนังสือสำหรับเด็ก
ทำความเข้าใจกับลักษณะหรือองค์ประกอบของหนังสือสำหรับเด็ก
ศึกษาเกี่ยวกับสำนวนภาษาให้เหมาะสม ไม่ว่าจะเป็นระดับคำหรือประโยค
กำหนดองค์ประกอบในการเขียน
ผู้อ่าน
เนื้อหาต้องสอดคล้องกับเด็กแต่ละช่วงวัยกับการอ่าน แต่วัยใดชอบอ่านเรื่องแบบใด ผ่านต้องศึกษาอย่างละเอียด
หัวข้อเรื่อง
เนื้อหาเรื่องต้องพิจารณาจากหลักสูตรการเรียนของเด็กในแต่ระดับชั้น
ความสนใจของเด็กในแต่ละช่วงวัย
เรื่องใกล้ตัวเด็ก
ประเภทของหนังสือ
เรื่องสั้น
นิทาน
นวนิยาย
วางจุดประสงค์ และสร้างโครงเรื่อง
ผู้เขียนกำหนดขึ้นมาต้องชัดเจน
มีเพียงประเด็นเดียว จึงจะเรียกว่าเรื่องที่มีเอกภาพ
สำรวจแรงบันดาลใจ
มีความต้องการอยากเขียนหนังสือสำหรับเด็กเพื่ออะไร
ผู้เขียนต้องสำรวจตนเองว่าจะเขียนเนื่องด้วยเหตุใด
การเขียนหนังสือสำหรับเด็ก
ทำเรื่องให้น่าสนใจ เนื่องจากวัยของเด็กแตกต่างจากวัยของผู้ใหญ่
ผู้เขียนจึงต้องระมัดระวังไม่เขียนโครงเรื่องยาวเกินไป
เทคนิคเขียนเรื่อง เทคนิคใช้คำถาม 5W1H
ที่ไหน คือสถานที่ รวมถึงฉากประกอบต่าง ๆ
เมื่อไหร่ คือเวลา เพื่อลำดับเหตุการณ
ทำอะไร คือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
ทำไม คือเหตุผล ที่มาของเหตุการณ์
ใคร คือตัวละคร
อย่างไร คือรายละเอียดของเหตุการณ์
การเขียนสารคดีสำหรับเด็ก
ส่วนประกอบ
ส่วนเนื้อเรื่อง
ส่วนดำเนินเรื่อง ความสั้นยาวของส่วนเนื้อเรื่องนี้ขึ้นอยู่กับเนื้อหาสาระตามจุดมุ่งหมายของผู้เขียน
ส่วนปิดเรื่อง
เป็นส่วนประกอบสุดท้ายของสารคดีแต่ละเรื่อง เป็นข้อความ
ที่เขียนเมื่อได้กล่าวถึงเนื้อเรื่องทั้งหมดครบถ้วนแล้ว
ส่วนนำเรื่อง
เป็นส่วนแรกที่ผู้เขียน เสนอไว้ในย่อหน้าแรกของการเขียนสารคดี
เป็นส่วนเกริ่นนำว่าเรื่องนี้เกี่ยวกับอะไร
เป็นส่วนที่ดึงดูดความสนใจของผู้อ่าน ให้อ่านต่อหรือไม่
โครงสร้าง
รูปแบบการเขียนภายนอก
บรรยาย เป็นการเล่าเรื่องให้ผู้อื่นทราบว่ามีอะไรเกิดขึ้น หรือใครทำอะไรส่วนใหญ่จะเป็นการเล่าเรื่องตามลำดับเวลา
อธิบาย เป็นการเขียนในรูปแบบขยายความ หรือชี้แจงให้ทราบว่าอะไรเป็นอะไร ทำให้ผู้อ่านเข้าใจความหมายของสิ่งต่างๆ
พรรณนา ผู้เขียนพยายามบอกผู้อ่านเกี่ยวกับสิ่งที่เห็นหรือมี
ประสบการณ์ ทั้งรูป กลิ่น และเสียง เหมือนได้ไปสัมผัสด้วยตนเอง
โน้มน้าวใจ ผู้เขียนจะต้องใช้ภาษาในทำให้ผู้อ่านเกิดความคิด ความเชื่อ ความรู้สึก การระทำในบางเรื่อง
รูปแบบการเขียนภายใน
ผู้เขียนต้องพิจารณาอีกคือการตั้งชื่อเรื่องหรือ
ชื่อหัวข้อ รวมไปถึงการแบ่งบทของหนังสือด้วย
เทคนิคการเขียนเรื่อง
เทคนิคการเขียนเรื่องบันเทิงคดี
การเปิดเรื่องและการปิดเรื่อง
การเปิดเรื่องด้วยการบรรยาย เป็นการให้รายละเอียดเพื่อสร้างความเข้าใจ
ก่อนนำไปสู่เรื่อง
การเปิดเรื่องด้วยการสนทนา เป็นการใช้การสนทนาระหว่างตัวละครเป็นส่วนสำคัญ
การเปิดเรื่องด้วยการพรรณนา เป็นการเปิดเรื่องด้วยการเรียบเรียงให้ข้อความให้รายละเอียดเกี่ยวกับบุคคล สิ่งของ ธรรมชาติ สภาพแวดล้อม
การใช้สำนวนภาษา
ร้อยแก้ว เขียนอย่างเป็นธรรมชาติ ใช้คำที่เด็กคุ้นเคย ผู้เขียนควรใช้คำง่าย สั้น และเป็นธรรมชาติ ไม่ควรใช้คำพื้นเมือง คำแสลงเด็กอาจจะไม่เข้าใจ
:
ร้อยกรอง ต้องเป็นคำที่ง่าย มีความหมายเด่น
การตั้งชื่อเรื่อง
ตั้งชื่อเรื่องตามเหตุการณ์สำคัญหรือจุดสำคัญในเรื่อง
ตั้งชื่อตามฉากหรือสถานที่สำคัญของเรื่อง
ตั้งชื่อเรื่องตามแก่นเรื่องหรือแนวคิดสำคัญ
ตั้งชื่อตามตัวละคร
ตั้งชื่อแบบคำถาม
การสร้างความสะเทือนใจ
หนังสือภาพซึ่งมีการดำเนินเรื่องที่
ค่อนข้างกระชับ และเพิ่มความสะเทือนใจในการอ่านด้วยภาพประกอบทีเขียนขึ้น
แต่ละเรื่องควรวางไว้ตอนท้ายเรื่องหรือตอน
จบเรื่อง ไม่ควรวางความสะเทือนใจนี้ไว้กลางเรื่อง
เทคนิคการเขียนเรื่องสารคดี
ภาพประกอบนอกจากจะดึงดูดความสนใจแล้ว ก่อให้เกิดจินตภา ช่วยในการอธิบายเนื้อหาของเรื่องได้ดี
ขนาดเนื้อหาและสาระสำญของสารคดีสำหรับเด็กควรกระชับ
ไม่ซับซ้อน หรือยืดยาวเกินไป
ควรใช้ภาษาที่เรียบง่ายเหมาะสมกับวัยและประสบการณ์ของเด็ก
การเขียนบันเทิงคดี
ตัวละคร คือหนังสือสำหรับเด็กนั้นผู้เขียนสามารถเลือกได้มากมาย อาจเป็นคน สัตว์ สิ่งของ และอื่น ๆ ที่เกิดจาการจินตนาการ
ฉาก คือไม่ได้หมายถึงสถานที่เพียงอย่างเดียว ฉากยังมีความหมายครอบคลุมไปถึงช่วงเวลา และบรรยากาศในเรื่องอีกด้วย
แนวคิดหรือแก่นเรื่อง คือเป็นความหมายที่สรุปได้จากการอ่านเรื่องราวทั้งหมด ผู้เขียนอาจสอดแทรกจริยธรรม คุณธรรม ค่านิยมต่าง ๆ
บทสนทนา คือ คำพูดของตัวละครที่โต้ตอบกันในเรื่อง ซึ่งเป็นองค์ประกอบที่จะทำให้เรื่องสั้นน่าอ่านยิ่งกว่าการบรรยาย
แบบนิทานทั่วไป
โครงเรื่อง คือเหตุการณ์ในเรื่องตั้งแต่ต้นจนจบเรื่อง ซึ่งจะประกอบไปด้วย ตอนต้นเรื่อง ตอนกลางเรื่อง และตอนจบเรื่อง
โครงสร้างบันเทิงคดีสำหรับเด็ก
โครงสร้างภายใน คือความสัมพันธ์ของส่วนประกอบต่างๆในหนังสือ
ตัวละคร
ฉาก
แก่นเรื่อง
บทสนทนา
โครงเรื่อง
โครงสร้างภายนอกเป็นส่วนสำคัญทำให้ผู้อ่านวางไม่ลงประกอบด้วย
ตอนต้น
ตอนกลาง
ตอนจบ