Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 6 แนวทางการวัดและประเมินสำหรับนักเรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ…
หน่วยที่ 6 แนวทางการวัดและประเมินสำหรับนักเรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษทางการศึกษา
จุดมุ่งหมายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้สำหรับนักเรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้สำหรับนักเรียนที่มีความ
ต้องการจำเป็นพิเศษทางการศึกษามีจุดมุ่งหมาย ดังนี้
เพื่อประเมินพัฒนาการและผลการเรียนรู้ของนักเรียนระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
เพื่อตัดสินผลการเรียน
เพื่อประเมินความรู้ความสามารถพื้นฐานและความต้องการจ าเป็นพิเศษเพื่อวางแผนการจัดการเรียนรู้
การประเมินพฤติกรรมการเรียนรู้ของนักเรียนที่มีความ
ต้องการจำเป็นพิเศษจะแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ
การประเมินพัฒนาการและผลการเรียนรู้ของนักเรียน
การประเมินเพื่อตัดสินผลการเรียน (Summative Assessment)
หลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้สำหรับนักเรียน ที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ
แนวทางในการตัดสินใจการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ที่สอดคล้องตามหลักสูตรสถานศึกษา
สถานศึกษาเป็นผู้รับผิดชอบการวัดและการประเมินผลการเรียนรู้ของนักเรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษทางการศึกษา
มีจุดมุ่งหมายเพื่อประเมินระดับความสามารถและความต้องการจำเป็นพิเศษ ปรับปรุงพัฒนานักเรียน และตัดสินผลการเรียน
ควรอยู่บน พื้นฐานที่สอดคล้องและตอบสนองกับความต้องการจำเป็นพิเศษทางการศึกษาของนักเรียน โดยใช้แผนการจัด การศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP)
ส่งเสริมสนับสนุนให้สามารถเข้าถึงกิจกรรมหรือรูปแบบวิธีการวัดและประเมินผล มีแนวทางดังนี้
การช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกด้านการจัดสภาพแวดล้อม
การช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกด้านการจัดเวลาและตารางเป็นการปรับเปลี่ยนเกี่ยวกับเวลา
การช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกด้านการตอบสนอง
การช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกด้านการนำเสนอ
การประเมินนักเรียนพิจารณาจากพัฒนาการของนักเรียน ความประพฤติการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้การร่วมกิจกรรมและการทดสอบ
เปิดโอกาสให้นักเรียนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องตรวจสอบผลการประเมินผลการเรียนรู้
ให้สถานศึกษาจัดท าเอกสารหลักฐานการศึกษา
ให้มีการเทียบโอนผลการเรียนระหว่างสถานศึกษาและรูปแบบการศึกษาต่าง ๆ
แนวปฏิบัติในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้สำหรับนักเรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษแต่ละประเภท
การกำหนดเกณฑ์และแนวทางการวัดและประเมินผล เพื่อเป็นแนวทางในการเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับ พัฒนาการและผลการเรียนรู้ของนักเรียน
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและประเมินผล ตามแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP)
การประเมินทบทวนและปรับปรุงแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล(IEP)
การจัดทำแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP)
การวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด เป้าหมายที่กำหนดไว้ในมาตรฐานและตัวชี้วัด โดยมีลักษณะของพฤติกรรม ที่แสดงออกใน 3 ลักษณะ
พฤติกรรมด้านความรู้(Knowledge: K) หรือพุทธิพิสัย (Cognitive Domain)
พฤติกรรมด้านทักษะกระบวนการ (Process Skill: P) หรือด้านทักษะพิสัย(PsychomotorDomain)
พฤติกรรมด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (Attribute: A) หรือด้านจิตพิสัย (EffectiveDomain)
การประเมินระดับความรู้ความสามารถพื้นฐานและความต้องการจำเป็นพิเศษเพื่อนำข้อมูลไปใช้ในการวางแผนจัดการเรียนรู้โดยประเมินความสามารถปัจจุบัน
การรายงานผลการจัดการศึกษาตามแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP)
ความหมายของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
เด็กที่มีความต้องการพิเศษหมายถึง เด็กที่มีปัญหาและความต้องการจำเป็น ซึ่งแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม
กลุ่มเด็กที่มีความสามารพิเศษ หรือที่รู้จักกันในนาม “เด็กปัญญาเลิศ-เด็กอัจฉริยะ”
กลุ่มเด็กด้อยโอกาส
กลุ่มเด็กที่มีความบกพร่องทางการศึกษาทั้ง 9 ประเภท
เกณฑ์การวัดและประเมินผลการเรียนรู้สำหรับนักเรียน
6.4 การเรียนซ้ำชั้น
มีเวลาเรียนไม่ถึงร้อยละ 80 อันเนื่องจากสาเหตุจ าเป็นหรือเหตุสุดวิสัย
แต่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์การเลื่อนชั้นในข้ออื่น ๆ ครบถ้วน
นักเรียนมีผลการประเมินผ่านมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดไม่ถึงเกณฑ์ตามที่สถานศึกษากำหนด
6.5 การสอนซ่อมเสริม
สถานศึกษาต้องจัดการสอนซ่อมเสริมเป็นกรณีพิเศษนอกเหนือไปจากการสอนตามปกติเพื่อพัฒนาให้นักเรียนสามารถบรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้ตัวชี้วัด ตามจุดประสงค์ที่ ก าหนดไว้ในแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP)
6.6 เกณฑ์การจบการศึกษา
บรรลุคุณภาพตามจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ที่กำหนดไว้ในแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP) ในรายวิชาใด ๆ โดยอิงมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดของ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 หรือตามมาตรฐานและตัวชี้วัดที่ปรับใช้กับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ
นักเรียนที่มีความต้องการจ าเป็นพิเศษทางการศึกษา ที่มีความบกพร่องรุนแรง ควรพิจารณาให้จบ การศึกษาโดยนักเรียนต้องผ่านการประเมินตามจุดประสงค์ที่กำหนดไว้ในแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP)
6.3 การเลื่อนชั้น
นักเรียนมีเวลาเรียนตลอดปีการศึกษาไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของเวลาเรียนทั้งหมด
นักเรียนมีผลการประเมินผ่านมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนดไว้ในแต่ละ รายวิชา และผ่านเกณฑ์การวัดและประเมินผลตามจุดประสงค์ที่ก าหนดไว้ในแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล(IEP)
นักเรียนมีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์และกิจกรรมพัฒนา ผู้เรียนผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด
6.2 การให้ระดับผลการเรียน
การให้ระดับผลการเรียน สามารถให้ระดับผลการเรียนหรือระดับคุณภาพ โดยพิจารณาจากการผ่านจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมในแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP)มาประกอบ การให้ระดับผลการเรียนและตัดสินระดับคุณภาพตามเกณฑ์ปกติโดยคำนึงถึงความเหมาะสมตามศักยภาพ พัฒนาการ ความรู้ความสามารถ และความบกพร่องของนักเรียน
การประเมินการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ให้ผลการประเมินเป็น ผ่านและไม่ผ่าน กรณีที่ผ่านให้ระดับผลการประเมินเป็นดีเยี่ยม ดีและผ่าน ทั้งนี้ให้คณะกรรมการพัฒนาและประเมิน การอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน และคณะกรรมการพัฒนาและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของสถานศึกษา
6.7 การรายงานผลการเรียน
ควรมีข้อมูลในการรายงานผลการเรียน ดังนี้
ข้อมูลระดับสถานศึกษา
ข้อมูลระดับเขตพื้นที่การศึกษาและระดับชาติประกอบด้วย
ข้อมูลระดับชั้นเรียน
ข้อมูลพัฒนาการของนักเรียนด้านอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับพัฒนาการทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์สังคมและ พฤติกรรมต่าง ๆ
6.1 การตัดสินผลการเรียน
นักเรียนต้องได้รับการประเมินทุกตัวชี้วัดหรือตัวชี้วัดที่ปรับใช้สำหรับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะและผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศึกษาก าหนด
นักเรียนต้องได้รับการตัดสินผลการเรียนทุกรายวิชาหรือได้รับการตัดสินผลการเรียนที่กำหนดไว้ในแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP)
นักเรียนต้องมีเวลาเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของเวลาเรียนทั้งหมด
ผู้เรียนต้องได้รับการประเมินและมีผลการประเมินผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนดในการอ่าน คิด วิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
ความสำคัญของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้สำหรับนักเรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ
กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศ เรื่อง กำหนดประเภทและหลักเกณฑ์ของคนพิการทางการศึกษา พ.ศ. 2552 ไว้ 9 ประเภท
บุคคลที่มีความบกพร่องทางร่างกายหรือการเคลื่อนไหวหรือสุขภาพ
บุคคลที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้
บุคคลที่มีความบกพร่องทางการพูดและภาษา
บุคคลที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมหรืออารมณ์
บุคคลที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา
บุคคลออทิสติก
บุคคลที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน
บุคคลพิการซ้อน
บุคคลที่มีความบกพร่องทางการเห็น
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 กำหนดให้ผู้สอนจะต้องประเมินนักเรียน 4องค์ประกอบ
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และ เขียน
การประเมินผลการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระการเรียนรู้
การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
กฎหมายแม่บทเกี่ยวกับการบริหารและการจัดการศึกษาของชาติ
พระราชบัญญัติการจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ พ.ศ. 2551
แนวปฏิบัติเกี่ยวกับ การจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการปรับใช้หลักสูตรแกน กลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สำหรับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ
แนวทางการวัดและประเมินผลการเรียนรู้สำหรับนักเรียน ที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ
ใช้แผนการจัดการศึกษา เฉพาะบุคคล (IEP) มีองค์ประกอบ ดังนี้
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระการเรียนรู้
การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้สำหรับนักเรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษในโรงเรียน จัดการเรียนร่วม แบ่งออกเป็น 3 ลักษณะ
กรณีนักเรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษทางการศึกษา แต่ละประเภทกำหนดแนวปฏิบัติดังนี้
เป็นการพิจารณาเฉพาะบุคคลไม่เปรียบเทียบกับนักเรียนทั่วไป
ในกลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชาที่ต้องปรับเปลี่ยนเนื้อหา/ตัวชี้วัดที่ใช้ในการประเมินจะต้องมีการจัดการเรียนการสอนที่สอดคล้องกันในชั้นเรียน
ให้ใช้เกณฑ์การวัดและประเมินผลในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ตามมาตรฐานและตัวชี้วัด
ปรับวิธีการในการวัดและประเมินผลให้ให้เหมาะสมกับความต้องการจำเป็นของแต่ละบุคคล
ปรับเครื่องมือวัดและประเมินผล
กำหนดเกณฑ์การให้คะแนนใหม่ให้เหมาะสมกับศักยภาพนักเรียนและสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ในแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP)
ปรับระยะเวลาหรือก าหนดเวลาในการสอบให้เหมาะสมหรือพร้อมที่จะสอบ
ปรับสถานที่สอบเพื่อนักเรียนจะได้ไม่ไปท าความรบกวนให้กับผู้อื่นหากจำเป็นให้การช่วยเหลือจัดอุปกรณ์และสิ่งอ านวยความสะดวกที่จำเป็นอื่น ๆ ตามความต้องการจำเป็นของนักเรียนแต่ละคน
การนำเสนอข้อสอบ
วัดและประเมินผลความก้าวหน้าและระบุไว้ในช่องการวัดประเมินผลของแผนการจัดการศึกษา เฉพาะบุคคล (IEP)
กรณีนักเรียนพิการหรือบกพร่องขั้นรุนแรงที่ไม่สามารถปรับใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดในกลุ่มสาระ เพื่อการดำรงชีวิตในสังคมอย่างมีความสุข กำหนดแนวปฏิบัติดังนี้
ประเมินความสามารถในการปฏิบัติตามระดับคุณภาพ
ประเมินความก้าวหน้าในการปฏิบัติงาน ได้ใช้วิธียืดหยุ่นและปรับวิธีการให้คะแนน
เป็นการประเมินเฉพาะบุคคลไม่เปรียบเทียบกับนักเรียนปกติ
การประเมินผลการเรียนรู้อย่างหลากหลาย
ให้ประเมินผลตามจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมที่กำหนดไว้ในแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล(IEP)
กรณีนักเรียนพิการหรือบกพร่องที่มีความรู้ความสามารถเท่าเทียมหรือใกล้เคียงกับนักเรียนทั่วไปที่เรียนร่วม
อาจมีการปรับวิธีการ/เวลาในการวัดและประเมินให้ยืดหยุ่นตามความต้องการจำเป็นพิเศษของ นักเรียนแต่ละคน
จัดให้มีสิ่งอำนวยความสะดวกและวิธีการสื่อสารให้นักเรียนสามารถเข้าถึงเนื้อหาสาระในแบบทดสอบตามความเหมาะสมของแต่ละบุคคล
ให้วัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามมาตรฐานการเรียนรู้ตัวชี้วัดและเกณฑ์ต่าง ๆ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชาเช่นเดียวกับนักเรียนทั่วไป