Coggle requires JavaScript to display documents.
เกิดจากความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกันร่างกาย โดยภูมิคุ้มกันร่างกายจะกระตุ้นให้เกิดการทำลายเนื้อเยื่อส่งผลให้เกิดการอักเสบของเนื้อเยื่อ
มีอาการ ปวด บวม และกดเจ็บตามข้อต่อต่างๆ โดยเฉพาะบริเวณข้อต่อนิ้วมือจะมีอาการข้อฝืด ข้อแข็ง เคลื่อนไหวลำบากในช่วงตื่นนอนตอนเช้า ซึ่งต้องใช้เวลานานจึงจะเริ่มขยับข้อต่อได้ดีขึ้น
อาการของโรคข้อต่อรูมาตอยด์จะไม่หายขาด อาการจะเป็นๆหายๆ
จะมีอาการอักเสบของข้อต่อหลายๆข้อ ซึ่งมักจะเกิดทั้งสองข้างพร้อมกัน ข้ออักเสบที่พบได้บ่อย ได้แก่ ข้อมือ ข้อนิ้วมือ ข้อเท้า และข้อนิ้วเท้า
1. เริ่มต้นด้วยผู้ป่วยอยู่ในท่ายืนหรือนั่ง ให้ผู้ป่วยยกแขนเอามือไปไว้ด้านหลังศรีษะ ค้างไว้ 5 วินาที สลับกับการเอามือไขว้ไปด้านหลังบริเวณเอว ค้างไว้ 5 วินาทีทำ 5 ครั้งต่อรอบ (เช้า กลางวัน เย็น)
2. การออกกำลังกายเพื่อเพิ่มการเคลื่อนไหวข้อมือเริ่มต้นด้วยผู้ป่วยวางมือบนขอบโต๊ะ หมุนข้อมือตามเข็มสลับทวนเข็มนาฬิกาช้าๆ ทำ 5 ครั้งต่อรอบ (เช้า กลางวัน เย็น)
3. การออกกำลังกายเพื่อเพิ่มการเคลื่อนไหวข้อนิ้ว