Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Musculoskeletal system mishci-sinergisti-primeri-i-opisanie 237676555…
Musculoskeletal system
De Quervain’s Tenosynovitis
สาเหตุ
เกิดจากการกระดกข้อมือ แนวผัดกับข้าว
พบใน
แม่ครัว พ่อครัว
ช่างตัดผม
แม่บ้านถูพื้น
Test
Finkelstein test
การรักษา
Modification of activities : ปรับกิจกรรม
NSAIDs
Rest for 3-6 weeks
Hydrocortisone injection
surgery
Osteoporosis กระดูกบาง พรุน หักง่าย
การป้องกันแนะนำให้ตรวจ ความหนาแน่นของกระดูกในกลุ่มที่มีความเสี่ยงสูง
สูบบุหรี่
มีประวัติสะโพกหักในครอบครัว
ประวัติกระดูกหักเมื่อเป็นผู้ใหญ่
อายุมากกว่าหรือเท่ากับ 65 ปี
สตรีวัยหมดประจำเดือนทุกรายที่มีความเสี่ยงคือ มีค่าดัชนีต่ำกว่า -4
การรักษา
ปรับพื้นไม่ให้ลื่น,ห้องน้ำมีราวจับ
ดูแลไม่ให้ล้ม ไม่ให้กระดูกหัก
การวินิจฉัย
T-score (-1)-(2.5) = Osteopenia
WHO วัดที่ T-score <-2.5 = Osteoporosis
พบในใคร
ออกกำลังกาย/ไม่ออกกำลังกาย
รับแสงแดดน้อย
พบในผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย
ผู้ชายอายุ 70 ปีขึ้นไป
ผู้หญิงหมดประจำเดือน
Carpal tunnel syndrome
สาเหตุ
กระดกข้อมือซ้ำๆเส้นประสาท median ถูกกด ทำให้เส้นบวม อักเสบ
อาการ
มือชา
ข้อมืออ่อนแรง
ปวดข้อมือ
การรักษา
ใส่ Support ไว้
ให้ยา Nsaid ,Steroid
ให้ยาไม่ดีขึ้น กล้ามเนื้อที่อุ้งมือเริ่มฟีบ ต้องรักษาด้วยการผ่าตัด
Gout
การรักษา
Allopurinol ให้ในกรณี Uric >10 ถ้า < 7 หยุดให้ยา
Corticosteroids : Prednisone
แก้ปวด Nsaid
Colchicine ลดบวมและการก่อตัวจากผลึกยูริก
อาการ
ปวดเข่า ข้อเข่า ข้างเดียว เกิดข้อส่วนล่าง
intracellular monosodium urate crystals in synovial fluid
มีไข้
Uric ไม่จำเป็นต้องสูง แต่ส่วนมากสูง
ปวดหัวแม่เท้ามากๆ ปวดแดงร้อน จับไม่ได้
พบมากใน
กินเนื้อ
ดื่มเบียร์
ผู้ชาย
OSTEOARTHROSIS
อาการ
เป็นมานานเรื้อรัง ค่อยๆเป็น ค่อยๆไป
ไม่มีการอักเสบ : noninflammatory
พบในคนสูงอายุ มีอาการปวดหลังใช้งาน
ปัจจัยเสี่ยง
พบในเพศหญืงมากกว่าเพศชาย
น้ำหนักเกิน
บาดเจ็บที่ข้อ
ลักษณะ
มักเกิดข้อที่รับน้ำหนัก
Synovial joint : ข้อที่มีน้ำไขข้อ 70%
คำแนะนำ
ลดน้ำหนัก
ออกกำลังกายเข่า
อย่าให้เกิดการบาดเจ็บที่ข้อ
การออกกำลังกาย
ว่ายน้ำ
เดิน
ฝึกความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ
การรักษา
ให้ยาแก้ปวด Paracetamol เป็นอันดับแรก
ถัดมาค่อยให้ Nsaid
ปวดมากอาจฉีด Steroid ใส่ข้อ แต่อันตรายอาจทำให้ติดเชื้อในข้อได้
RHEUMATOID ARTHRITIS
การรักษา
ยากดภูมิ
Clorquine ใช้ไปนานๆจะทำให้ตาบอด
cyclosporine
Nsaid
อาการ
ปวดตอนเช้า
บวม
พบมากที่นิ้วมือ ข้อนิ้วมือ ปวดหลายข้อ ปวด 2 ข้างเท่ากัน
การวินิจฉัย
เจาะ Rhumatoid factor
Common fracture and dislocation
Distal end radius fracture
ภาวะกระดูกหักที่เกิดในส่วนของ metaphysis ของปลายกระดูก radius ซึ่งจะอยู่ในช่วง
Pull elbow
อาการ : ผู้ป่วยจะปวดบริเวณข้อศอกทันทีที่เกิดการหลุด ไม่สามารถขยับข้อศอกได้สุด แขนจะอยู่ในท่าข้อศอกงอเล็กน้อยและแขนอยู่ในท่าคว่ำ (slightly flexed and pronated) มีการกดเจ็บที่บริเวณหัวกระดูก radius
การรักษา : ดึงกระดูกให้เข้าที่ โดยอาจ ทำการงอข้อศอกและจับแขนให้หงายขึ้น จะมีความรู้สึกว่า หัวกระดูก radius กลับเข้าที่ หลังจากนำกระดูกกลับเข้าที่แล้ว ผู้ป่วยมักจะหายเจ็บและเริ่มกลับมาใช้งานแขนได้ทันที จึงไม่มีความจำเป็นต้องใส่เฝือกหลังจากดึงกระดูกให้เข้าที่
ภาวะที่หัวกระดูก radius เคลื่อนหลุดออกจาก ข้อศอก พบบ่อยในเด็กอายุน้อยกว่า 4 ปี เป็นในเด็กผู้หญิง มากกว่าเด็กชาย พบบ่อยในข้อศอกข้างซ้าย เกิดจากการดึง แขนเด็กโดยทันทีในขณะข้อศอกเด็กอยู่ในท่าเหยียด และ คว่ำทำให้หัวของกระดูก radius เคลื่อนที่หลุดออกจาก เอ็นหุ้มหัวกระดูก radius
shoulder dislocation
ข้อไหล่เป็นข้อที่หลุดบ่อยที่สุดในร่างกาย ร้อยละ 95 เป็นการหลุดไปทางด้านหน้า การหลุด
ทางด้านหลังจะพบประมาณร้อยละ 5
Closed reduction ก่อนที่จะทำการดึงข้อต่อกระดูกให้เข้าที่ (closed reduction) ต้องให้ยาลดอาการปวด และยาที่จะ ช่วย sedation และคลายกล้ามเนื้อ แต่ในกรณีที่ผู้ป่วยมาพบแพทย์เร็วหรือหลุดมาหลายครั้งแล้วและไม่ปวดมากอาจจะไม่ต้องให้ ยาก่อนดึงกระดูกเข้าที่ก็ได้ ยาที่ใช้ในการลดปวดส่วนใหญ่จะใช้ fentanyl หรือ morphine
Posterior Dislocation
Flexed,internal rotated and adduction
Anterior Dislocation
Flexed,external rotated and abduction
Fracture neck of femur
ข้างที่หักจะสั้นกว่า
ทดสอบ
Rolling test-หมุน
Anvil's test จับข้อเท้า ทุบส้นเท้า
Spine fracture
T-spine
ชาขาทั้ง 2 ข้าง ใต้สะดือลงไป ด้านบนปกติ
ปวดหลัง ขมิบก้นไม่ได้
ใส่เครื่องช่วยพยุงหลัง (spinal orthosis or brace) หรือใส่เฝือก (extension casting)
L-spine
Sacrum ลงไป
ปวดหลัง ขมิบก้นไม่ได้
ใส่เครื่องช่วยพยุงหลัง (spinal orthosis or brace) หรือใส่เฝือก (extension casting)
C-spine
ไม่ค่อยได้สติ เพราะใกล้ก้านสมอง
ผู้ป่วยมักจะมีประวัติอุบัติเหตุชัดเจน และมีอาการปวดต้นคอ กล้ามเนื้อคอแข็งเกร็ง, ปวด, บวม, อาจมีรอยฟกช้ำของเลือดให้เห็นได้ในบางกรณีและที่สําคัญที่สุด คือ ผู้ป่วยไม่สามารถยกศีรษะจากท่านอน ขึ้นลอยจากพื้นเตียงมาแตะบริเวณหน้าอกและมีอาการปวดที่รุนแรงร่วมด้วย
นางสาวบุญหลาย โทนารินทร์ เลขที่ 61 รหัสนักศึกษา 61113301061 ชั้นปีที่ 4 รุ่น 36