Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่5 แนวทางการดำเนินงานอาชีวอนามัย - Coggle Diagram
บทที่5 แนวทางการดำเนินงานอาชีวอนามัย
ความหมายของงานอาชีวอนามัย
หมายถึง สุขภาพอนามัยของผู้ประกอบอาชีพทุกภาคส่วนของประเทศ ควรจะมีสภาวะที่สมบูรณ์ดีทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สัมพันธภาพและสถานภาพในสังคม โดยอาชีวอนามัยเกี่ยวข้องกับงานที่เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพควบคุมดูแล การป้องกันโรค และดำรงรักษาสุขภาพอนามัย
ความสำคัญของงานอาชีวอนามัย
การบริการอาชีวอนามัยคือ งานอาชีวอนามัยที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมและการธ ารงรักษาไว้ซึ่งสุขภาพอนามัยที่แข็งแรง สมบูรณ์ ปลอดภัยของผู้ประกอบอาชีพ ไม่มีโรคภัยไข้เจ็บ รวมทั้งอุบัติเหตุหรือความเสี่ยงในการเกิดอันตรายจากการปฏิบัติงาน
ขอบเขตของงานอาชีวอนามัย
การคุ้มครองคนงาน งานที่จัดขึ้นต้องมีระบบปกปูองคุ้มครองมิให้ได้รับการเสี่ยงอันตรายทั้งระบบสั้นและระบบยาว
การป้องกัน เป็นกระบวนการที่มีจุดหมายให้จัดการป้องกัน แก้ไข สภาพการทำงาน ไม่ให้คนงานได้รับอันตรายหรือเจ็บป่วย
จัดคนงานให้ได้ทำงานในลักษณะงาน สิ่งแวดล้อมการทำงานที่เหมาะสม
มีการจัดปรับงานให้เข้ากับคนและจัดปรับคนให้เข้ากับงาน
การส่งเสริมและธำรงรักษาไว้ซึ่งสุขภาพดีของคนงานทุกอาชีพ
ขอบเขตของการดำเนินงานอาชีวอนามัย
การป้องกันและควบคุมอุบัติเหตุจากการประกอบอาชีพ
การป้องกันและควบคุมมลพิษในสิ่งแวดล้อม
การป้องกันและควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพ
แนวทางการดำเนินงานอาชีวอนามัย
การรักษาพยาบาลและการส่งต่อ
ฟื้นฟูสภาพ
การป้องกันโรคและส่งเสริมสุขภาพ
ตรวจพิเศษด้านอาชีวเวชศาสตร์
การบันทึกระเบียนรายงาน
อันตรายจากสภาพแวดล้อมในการทำงานและการควบคุม
อันตรายจากสภาพแวดล้อมทางเคมี
ทางเข้าสู่ร่างกายของสารเคมี
ทางการหายใจ
ทางการกิน
ทางการดูดซึมทางผิวหนัง
ทางการฉีดเข้าผิวหนัง
อันตรายจากสภาพแวดล้อมทางกายภาพ
มลพิษทางเสียง
ความกดบรรยากาศที่ผิดปกติ
การสั่นสะเทือน
ความร้อน
แสงสว่าง
รังสี
อันตรายจากสภาพแวดล้อมทางชีวภาพ
การเป็นโรคพยาธิ อาจเกิดในเกษตรกรที่ทำงานเกี่ยวกับแหล่งโปรโตซัว หรือพยาธิ
การเกิดการระคายเคืองหรือูมิแพ้ สาเหตุมาจากฝุ่น
การติดเชื้อโรคต่างๆพบในเกษตรกรหรือคนงานที่คลุกคลีกับสัตว์
การถูกสัตว์กัดในขณะทำงาน
อันตรายจากสภาพแวดล้อมทางด้านการยศาสตร์
บริเวณไหล่
บริเวณหลัง
บริเวณคอ
อันตรายที่เกิดขึ้นทางด้านจิตใจ
อันตรายจากสิ่งแวดล้อมทางจิตวิทยาสังคม
เกิดความกดดันจากสภาพงานที่ไม่เหมาะสม
การเกิดอุบัติเหตุจากปัยหาจิตวิทยาสังคม
เกิดความเครียดและรู้สึกเบื่อหน่ายกับงาน
หลักการป้องกันและควบคุมโรคที่เกิดจากการประกอบอาชีพ
การควบคุมและป้องกันที่สิ่งแวดล้อม ด้วยการตระหักถึงความปลอดภัย
การควบคุมป้องกันด้วยตัวบุคคล
การให้คำปรึกษา ฝึกอบรม แนะนำ ความรู้ความเข้าใจด้านสุขภาพ
ควบคุมและป้องกันทางด้านการแพทย์โดยวิธีการตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำงาน
การบริหารจัดการ
แบ่งการทำงานเป็นกะ
แยกแยะส่วนการทำงานของคนกับส่วนพื่นที่อันตราย
การพยายามหาสารที่มีคุณสมบัติใกล้เคียงหรือเป็นอันตรายน้อยกว่า
เลือกใช้กระบวนการทำงานในขั้นตอนการผลิตที่เป็นอันตรายน้อยกว่า
ใช้วิธีปิดคลุมกระบวนการที่มีพิษหรืออันตราย
แยกกระบวนการที่เป็นอันตรายหรือเป็นพิษออกเป็นพื้นที่เฉพาะ
การใช้ระบบระบายอากาศทั้งแบบเฉพาะที่และแบบทั่วไป เพื่อดูดอากาศเสียและระบายอากาศทั่วไป
การใช้ระบบเปียกชื้นป้องกันการฟุ้งกระจายในกระบวนการทำงานที่มีฝุ่นฟุ้งกระจาย
การตรวจสภาพการทำงาน ติดตั้งสัญญาณเตือนภัยหรือเพิ่มระยะทางระหว่างแหล่งอันตรายที่ห่างจากที่ทำงานที่มีคนจำนวนมาก
เฝ้าระวังโรคเพื่อทราบข้อมูลสาเหตุและปัจจัยของการเกิดโรคได้อย่างรวดเร็ว
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับงานอาชีวอนามัย
ค่าทดแทนการทุพพลภาพร้อยละ 60 ของค่าจ้างรายเดือนตามประเภทของทุกคลภาพแต่ไม่เกิน 15 ปี
ค่าทดแทนการสูญเสียอวัยวะหรือสูญเสียสมรรถภาพในการทำงานของอวัยวะบางส่วนร้อยละ 60 ของค่าจ้างรายเดือนตามประเภทของการสูญเสียแต่ไม่เกิน 10 ปี
ค่าทดแทนการขาดรายได้กรณีหยุดพักรักษาตัวเกิน 3 วันขึ้นไป ร้อยละ 60 ของค่าจ้างรายเดือนเป็นเวลาไม่เกิน 1 ปีหากจ่ายเป็นรายเดือนให้จ่ายไม่ต่ำกว่าเดือนละ 2,000 บาทและไม่เกิน 9,000 บาท
ค่ารักษาพยาบาลตามที่จ่ายจริงไม่เกิน 30,000 บาท กรณีที่มีการจ่ายเงินเกิน 30,000บาทให้จ่ายเพิ่มตามความเห็นของคณะกรรมกามแพทย์ไม่เกิน 50,000 บาทและมีสิทธิได้รับค่าฟื้นฟูสมรรถภาพตามความจำเป็นไม่เกิน 20,000 บาทหรือค่าทำผ่าตัดเพื่อประโยชน์กับการฟื้นฟูสมรรถภาพตามความจำเป็นไม่เกิน 20,000 บาท
บทบาทและหน้าที่ของพยาบาลอาชีวอนามัย
ด้านบริการ
การบริการในคลินิก
ด้านการศึกษา
ด้านการวิจัย
บทบาทของพยาบาลอาชีวอนามัย
การส่งเสริมสุขภาพและลดความเสี่ยง
การปฏิบัติตามข้อกำหนดกฎหมาย
การให้คำปรึกษาและจัดการดูแลในภาวะวิกฤติ
การปกป้องสิ่งก่ออันตรายในสถานประกอบการของผู้ใช้แรงงาน
การบริหารจัดการผู้เจ็บป่วยรายกรณี