Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
respiratory failure - Coggle Diagram
respiratory failure
การพยาบาลที่สำคัญ
ประเมินภาะวะพร่องออกซิเจน อาการ ลักษณะการหายใจ ปาก ปลายมือปลายเท้า เพื่อเฝ้าระวังการการผู้ป่วย ประเมินสัญญาณชีพทุก 4 ชม. โดยเฉพาะ อัตราการหายใจ และค่า 02 saturation
-
-
-
-
-
-
พยาธิสภาพ
เป็นผลมาจากการที่ร่างกายได้รับการกระตุ้นจาก สาเหตุต่างๆ ทําให้มีการหลั่งสาร mediator หรือ cytokine ต่างๆ เช่น tumor necrosis factor interleukin (IL)-1, IL-6, IL-8
เป็นผลให้มีการทำลายเนื้อเยื่อถุงลม มีการขยายตัว ของหลอดเลือดฝอยรอบถุงลม มีเม็ดเลือดขาว เช่น neutrophil เคลื่อนที่เข้ามาในถุงลม
ทำให้เกิดการอักเสบภายในถุงลมและรอบๆ ถุงลม อย่างต่อเนื่อง มีของเหล่าโปรตีนสูง เราออกจาก หลอดเลือดเข้ามาสะสมในถุงลมและ Interstitium ทำให้เห็นคล้ายเป็น hyeline membrane ในถุงลม
surfactantปลี่ยนแปลง ทำให้ถุงลมแบบ ความ ยืดหยุ่นของปอดลดลง เนื้อปอดแข็ง การแลก เปลี่ยนก๊าซออกข้อบกพร่องอย่างมาก เนื่องจาก มหายใจเข้าไม่สามารถเข้าไปจองลมได้
-
ยาที่ได้รับ
-
bromhexine ผลข้างเคียง หลอดลมหดเกร็ง อาการบวม เกิดผื่น ความดันโลหิตต่ำ ความดัน โลหิตสูง ผิวหนังแดง คลื่นไส้ อาเจียน มีไข้ อาการวูบ เหงื่อออก ปวดข้อ มองเห็น ภาพไม่ชัด รบกวนการทำงานของตับ เลือดเป็นกรด อาการชัก หัวใจหยุดเต้น
ความหมาย
เป็นภาวะที่ปอดไม่สามารถทำงานแลกเปลี่ยน ออกซิเจนให้เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย และมีผลให้เกิดการคั่งของคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) และเกิดภาวะขาดออกซิเจน (O2) ในเลือด
สาเหตุ
เกิดจากหลอดลมตีบตัน หอบหืด หลอดลมอักเสบรุนแรง เนื้อปอดถูกทําลาย เช่น ภาวะปอดอักเสบมาก ๆกล้ามเนื้อการหายใจเสียหน้าที่ เช่น โรคใบสันหลังอักเสบ(Poliomyelitis)
Myasthenia gravis ศูนย์หายใจในเมตลลาเสียหน้าที่ เช่นมีเลือดออกในสมองได้รับพิษจากยา มีภาวะพร่องออกซิเจน
อาการ
มีอาการของภาวะหายใจ ล้มเหลวเฉียบพลัน คือ หายใจเร็ว แรง หน้าอกบุ๋ม เขียว ความรู้สติลดลง ระคายเคืองบริเวณคอและทางเดินหายใจ ฟังเสียงปอดได้ยินเสียง crepitation, bronchial breath sound
การรักษา
นอกจากการรักษาแบบจําเพาะเจาะจงต่อสาเหตุที่ ทําให้เกิด ARDS แล้ว การรักษาแบบประคับ ประคอง (supportive care) ให้พ้นวิกฤต เป็นหัวใจ หลักที่จะช่วยรักษาชีวิตผู้ป่วยไว้ได้
ผู้ป่วยใช้การให้ออกซิเจนแบบ Mask with tag 5 LPM ช่วยลดภาระการหายใจ (work of breathing) ทําให้ผู้ป่วย ไม่ต้องออกแรงหายใจจนเหนื่อย และเพิ่มความเข้มข้นของ ออกซิเจน (FiO2) ได้
-
- การดูแลรักษาด้านโภชนาการ สารน้ำ และเกลือแร่
-
- การรักษาและป้องกันปอดอักเสบแทรกซ้อนจาก การใช้เครื่องช่วยหายใจ
ภาวะแทรกซ้อน
การขนส่งก๊าซออกซิเจนไปยังเนื้อเยื่อของ ร่างกายเพื่อนำไปใช้ในการสร้างพลังงานและนำเอาก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกจากเนื้อเยื่อเหล่านี้ ซึ่งถ้ามี ความผิดปกติเกิดขึ้นในกระบวนการนี้จะทำให้เกิดภาวะการหายใจล้มเหลว (respiratory failure) ซึ่งหมายถึง ภาวะที่ระบบการหายใจไม่สามารถทำหน้าที่ในการแลกเปลี่ยนก๊าซได้เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย โดยอาจจะทำให้เกิดการลดลงของออกซิเจนในเลือดแดง (hypoxemia, Pao, < 60 mmHg) หรือมีการคั่ง ของคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือด (hypercapnia, PaCO 50 and pH < 7.3) หรือทั้งสองแบบร่วมกันได้ โด ภาวะนี้อาจเกิดแบบฉับพลัน (acute; มักเกิดในระยะเวลาที่รวดเร็วเป็นชั่วโมงจนถึงเป็นวัน) แบบเรื้อรัง (chronic มักเกิดในระยะเวลาเป็นสัปดาห์จนถึงเป็นเดือนหรือเป็นปี) หรือเกิดแบบฉับพลันในผู้ป่วยที่มีภาวะ หายใจล้มเหลวแบบเรื้อรังอยู่ก่อน (acute on chronic)
-