Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การป้องกันและส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ - Coggle Diagram
การป้องกันและส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
การพยาบาลเพื่อการจัดการปัญหาภาวะโภชนาการ
การเปลี่ยนแปลงโดยทั่วไปเกี่ยวกับภาวะโภชนาการ
อัตราการเผาผลาญความต้องการพลังงานลดลง โรคขาดโปรตีนและแคลอรี่
การประเมินภาวะโภชนาการ
BMI
<18.5 ผอม,
18.5-24.9 ปกติ
24.9 อ้วน
-ผู้สูงอายุควรได้รับสารอาหารให้ครบ 5 หมู่แต่ละวัน
-ควรดื่มนมพร่องมันเนยวันละ1แก้ว ไข่2-3ฟอง/สัปดาห์
ปลาอย่างน้อย2ครั้ง/สัปดาห์
-แบ่งมื้ออาหารออกเป็น4-5มื้อ อาหารเที่ยงหนัก
-ลดอาหารที่มีพลังงานสูงในผู้สูงอายุที่มีภาวะอ้วน
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมการออกกำลังกาย
กระบวนการสูงอายุที่มีผลต่อการออกกำลังกาย
1.มวลกระดูกลดลง เกิดภาวะกระดูกพรุน
2.มวลกล้ามเนื้อลดลงความแข็งแรงกล้ามเนื้อลดลง
3.ประสิทธิภาพการทำงานของปอดลดลง
ข้อห้ามการออกกำลังกายในผู้สูงอายุ
1.ห้าม/หลีกเลี่ยง isometric exercise
2.ไม่ควรออกกำลังกายที่่เกร็งหรือเบ่ง
3.ไม่ควรออกกำลังกายหลังอิ่มใหม่ๆ
4.สังเกตอาการ หบ เจ็บหน้าอก หัวใจเต้นผิดปกติ
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมการนอนหลับพักผ่อน
วงจรการนอน
NREM
1.ระยะเริ่มหลับเคลิ้ม หายใจช้า ปลุกตื่นง่าย
2.ระยะเริ่มง่วง ผ่อนคลายมากขึ้น ไม่มีการกลอกตา
3.ระยะหลับลึก PRช้า BPต่ำ ปลุกตื่นได้ยาก
4.ระยะหลับลึก ปลุกตื่นยาก ร่างกายผ่อนคลายเต็มที่ เป็นระยะที่ร่างกายซ่อมแซมส่วนสึกหรอ
1.หลีกเลี่ยงการหลับตอนกลางวัน
2.เข้านอนและตื่นเป็นเวลา
3.จัดสิ่งแวดล้อมให้เงียบสงบ
4.ที่นอนไม่แข็งหรือนุ่มเกินไป
5.ชำระล้างกายให้สะอาดและใส่เสื้อผ้าหลวมๆ
6.ความหิวทำให้นอนไม่หลับและอิ่มเกินไปจะหลับยาก
การจัดการความเครียด
สาเหตุความเครียดในผู้สูงอายุ
1.การเจ็บป่วย
2.การถูกทารุณ
3.สูญเสียบทบาท การเกษียณอายุ
4.ขาดปัจจัยพื้นฐาน
5.ปัญหาสัมพันธ์บุคคลในครอบครัว
ลักษณะทางอารมณ์และจิตใจ
อารมณ์เหงา เกิดกับผู้สูงอายุมากกว่าวัยอื่นๆเพราะมีเวลาว่างจากการทำงานอื่นๆ
ภาวะซึมเศร้า
เป็นความเจ็บป่วยทางจิตใจ ชนิดหนึ่ง ทำให้รู้สึกแย่ไม่มีความสุข จิตใจหม่นหมอง ชอบอยุ่คนเดียว เบื่อชีวิตหรืออยากตาย
การสร้้างกำลังในผู้สูงอายุ
1.ให้ความเคารพยกย่อง
2.ให้ความสำคัญโดยเฉพาะในเรื่องการตัดสินใจ
3.ใส่ใจในชีวิตประจำวัน เช่น อาหาร การนอนหลับพักผ่อน
4.ดูแลเรื่องสุขอนามัยด้วยการพาไปพบแพทย์และตรวจร่างกายประจำปี
นันทนากร
ประโยชน์สำหรับผู้สูงอายุ
ด้านร่างกาย:ร่างกายเเข็งแรง อายุยืน ป้องกันโรค
ด้านจิตใจ: สนุกสนานเพลิดเพลิน ลดการพึ่งพา เกิดความภาคภูมิใจ
ด้านสังคม:กระตุ้นให้มีส่วนร่วมในสังคม
วิธีการดำเนินกิจกรรมนันทนาการ
1.ประเมินผู้สูงอายุ
2.เลือกกิจกรรมนันทนาการ
3.เตรียาชมการ เตรียมอุปกรณ์ กระบวนการ
4.การดำเนินการทเคารพในสิทธิ ระมัดระวังเกิดอุบัติเหตุ
การพยาบาลเพื่อการจัดสิ่งแวดล้อมสำหรับผู้สูงอายุ
ข้อแนะนำสำหรับที่อยู่อาศัยสำหรับผู้สูงอายุ
-ตัวบ้าน ควรเป็นบ้านชั้นเดียว แสงสว่างเพียงพอ ไม่มีพื้นที่ต่างระดับ
-พื้นบ้าน ควรปรับให้มีลักษณะพื้นเรียบ ไม่ขรุขระ
-ห้องน้ำ ควรทำราวเกาะป้องกันการลื่นล้ม มีสัญญาณฉุกเฉิน ก๊อกน้ำชนิดเบาแรง
สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม
-บันไดควรมีราวจับ
-ตกแต่งภายในควรมีนาฬิกาขนาดใหญ่ช่วยในการมองเห็น
-ลูกบิดแบบงัดไม่หมุน
การมีส่วนร่วมในสังคม
หมายถึง การมีกิจกรรมในครอบครัว ชุมชน สังคม เป็นผู้ดำรงไว้ซึ่งสิทธิมนุษยชนและวัฒนธรรมของสังคม ผู้สูงอายุยังมีกิจกรรมต่างๆจะรู้สึกถึงคุณค่า มีเกียรติภูมิ
ประเภทของกิจกรรมมีส่วนร่วมในสังคม
1.กิจกรรมไม่มีรูปแบบ การช่วยเหลือสมาชิกในครอบครัว พบปะสังสรรค์กับเพื่อน ญาติ
2.กิจกรรมที่มีรูปแบบ เข้าร่วมสมาคมต่างๆ กลุ่มทางศาสนา การเป็นอาสาสมัคร
การป้องกันการพลัดตกหกล้ม
การหกล้มของผู้สูงอายุไทย
พบว่ามีอุบัติการณ์ 24%ในผู้สูงอายุหญิง 12%ในผู้สูงอายุชาย การหกล้มส่วนใหญ่เกิดขึ้นนอกบ้าน65% หญิงเกิดมากกว่าชาย
ปัจจัยเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้ม
-ปัจจัยภายใน
การเปลี่ยนแปลงของร่างกาย เช่น ความบกพร่อมทางการมองเห็น การทรงตัว การเดิน
-ปัจจัยภานนอก
1.พื้นที่มีลักษณะไม่ปลอดภัย
2.สิ่งก่อสร้างที่ไม่เหมาะสม
3.แสงสว่างไม่เพียงพอในที่พักอาศัย