Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบโครงกระดูก (Skeletal System), image, image, image, image, image -…
ระบบโครงกระดูก (Skeletal System)
โครงร่างของร่างกาย
กระดูกอ่อน (Cartilage) ทำหน้าที่รองรับส่วนที่อ่อนนุ่มของร่างกาย เพื่อที่จะทำให้การเคลื่อนไหวได้สะดวก ป้องกันการเสียดสี เนื่องจากผิวของกระดูกอ่อนเรียบ จึงพบว่ากระดูกอ่อนจะอยู่ที่ปลายหรือหัวกระดูกที่ประกอบเป็นข้อต่อต่าง ๆ และยังเป็นต้นกำเนิดของกระดูกแข็งทัวร่างกาย
กระดูก (Bone) เป็นส่วนที่แข็งที่สุด โครงกระดูกในผู้ใหญ่ ประกอบด้วยกระดูกจำนวน 206 ชิ้น ส่วนในทารกแรกเกิดจะมีกระดูกถึง 300 ชิ้นเพราะกระดูกอ่อนยังไม่ติดกัน
ข้อต่อ (Joints) คือส่วนต่อระหว่างกระดูกตั้งแต่สองชิ้นขึ้นไปมาต่อกัน เพื่อการเคลื่อนไหวของร่างกาย
เอ็น (Tendon) มีทั้งที่เป็นเอ็นกล้ามเนื้อและเอ็นยึดข้อ (Ligament) เป็นเนื้อเยื่อที่มีความแข็งแรงมาก มีลักษณะเป็นเส้นใยเหนียว ช่วยยึดกระดูกกับกล้ามเนื้อส่วนต่าง ๆ ไว้ด้วยกัน
การกำเนิดของกระดูก
IntramembraneOssification
EndochondralOssification
แบ่งออกเป็น2ประเภท
กระดูกแกนกลางของร่างกาย (Axial skeletal) มีทั้งหมด 80 ชิ้น
กระดูกสันหลัง(Vertebral Column)26ช้ิน
กระดูกทรวงอก (Sternum) 1 ชิ้น
กระดูกกะโหลกศรีษะ 29ชิ้น
กระดูกซี่โครง (Rib) 24 ชิ้น
กระดูกระยางค์ (Appendicular skeletal) 126ชิ้น
กระดูกส่วนแขน(Upper Extremity)
64ช้ิน
กระดูกส่วนขา(Lower Extremity)
62ช้ิน
หน้าที่ของกระดูก
เป็นส่วนที่ใช้ในการเคลื่อนไหว เช่น พาร่างกายย้ายจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง (Instrument of locomotion)
เป็นโครงของส่วนแข็ง (Framework of hard material)
เป็นส่วนที่ใช้ในการเคลื่อนไหว เช่น พาร่างกายย้ายจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง (Instrument of locomotion)
เป็นที่ยึดเกาะของกล้ามเนื้อต่างๆ และ Ligament เพื่อทำหน้าที่เป็นคานให้กล้ามเนื้อทำหน้าที่เกี่ยวกับการเคลื่อนไหว
ช่วยป้องกันอวัยวะสำคัญไม่ให้ได้รับอันตราย เช่น สมอง ปอด และหัวใจ เป็นต้น
ทำให้ร่างกายคงรูปได้ (Shape to whole body)
ภายในกระดูกมีไขกระดูก (Bone marrow) ที่ทำหน้าที่ผลิตเม็ดเลือด (Blood cell)
เป็นที่เก็บแร่ธาตุ Calcium ในร่างกาย
ป้องกันเส้นประสาทและหลอดเลือดที่ทอดอยู่ตามแนวของกระดูกนั้น
ชนิดของกระดูก
กระดูกยาว ได้แก่ กระดูกแขน กระดูกขา
กระดูกสั้น ได้แก่ กระดูกข้อมือ กระดูกข้อเท้า
กระดูกแบน ได้แก่ กระดูกซี่โครง กระดูกอก กระดูกสะบัก
กระดูกยาว รูปร่างไม่แน่นอน ได้แก่ กะโหลกศีรษะ กระดูกสันหลัง กระดูกเชิงกราน
กระดูกลม
กระดูกโพรงกะโหลกศีรษะ
จำแนกข้อต่อเป็น3ประเภท
ข้อต่อที่เคลื่อนไหวได้มาก(Diarthroses)
Ball and Socket Joint
Hinge Joint
Pivot Joint
CondyloidJoint
Gliding Joint
Saddle Joint
ข้อต่อที่เคลื่อนไหวไมเ่ได้ลย(Synarthroses)
ข้อต่อที่เคลื่อนไหวได้เล็กน้อย(Amphiarthroses)