Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Myoma Uteri เนื้องอกในมดลูก - Coggle Diagram
Myoma Uteri
เนื้องอกในมดลูก
พยาธิสภาพ
เกิดจากเซลลก์ล้ามเนื้อมดลูกที่เป็นกลามเนื้อเรียบมีการแบ่งตัวมากผิดปกติโดยมีการวางตัวเรียงกัน เป็นวง ๆ และมีเนื้อเยื่อเกี่ยวพันสอดประสานกัน เป็นวงแน่นมีขอบเขตชัดเจน เมื่อมองด้วยตาเปล่าจะเห็น้เป็นก้อนสีเทาขาวเป็นวง ๆ เหมือนก้นหอย ( whorl-like ) ซึ่งมีขอบเขตแยกจากกล้ามเนื้อมดลูกปกติได้ชัดเจนเนื่องจากเห็นเหมือนลักษณะคล้ายเปลือกหุ้มอยู่รอบก้อน (pseudocapsule) ซึ่งนั่นก็คือเซลลก์ล้ามเนื้อเรียบที่ถูกเบียดสาเหตุที่แท้จริงยังไม่ทราบแน่ชัดสันนิษฐานว่าอาจเกิดจาก
กรรมพันธุ์
สตรีที่อายุมากกว่า35ปี
ผู้ป่วยเพศหญิงอายุ42ปี
สตวิวัยทองที่จำเป็นต้องมิการเพิ่มของฮอร์โมนเอสโตรเจนทดแทนทำให้เนื้องอกโตเร็ว
สตรีที่ไม่มีบุตร หรือมีบุตรน้อย
มีบุตร 1 คนบุตรอายุ7ปี
การตรวจวินิจฉัยโรค
ผลการตรวจภายใน วันที่ 28/7/64
MIUB : negative Vagina : normal mucosa
white discharge
Cervix : no lesion normal consistency
Uterus : enlarged 10 weeks pregnancy size
Adnexa : negative
Culdusac : negative
-Transvaginal uttrasound( TVS) uterus~54x24cm. ด้านหลังมี mass∅ 9.3 x 68 cm .
บริเวณ Fundus มี-EndometrialCarcinoma ตรวจ mass ∅62 cm
อาการและอาการแสดง
ข้อมูลประวัติการเจ็บป่วย
-1มีก่อนตรวจเนื้องอกในมดลูกก้อนเล็กๆขนาด 2 CM ไม่มีอาการผิดปกติ
ปวดท้องขณะมีประจำเดือน
6เดือนก่อน มีระดูมากและนานขึ้น
ระตูมานาน7-10วันต่อรอบ
interval 28-30วัน ใช้ผ้าอนามัย7-8แผ่นต่อวัน
ระดูออกมาก(Hypermenorrhea) และมานาน menorrhagia
ก้อนในท้องน้อย (Palpable mass)
อาการกดเบียดอวัยวะข้างเคียง(Pressure symptom)
ปวดท้องน้อย (Pelvic Pain
ตกขาว (Leukorrhea)
ภาวะมิบุตรยาก (Infertility)
การรักษา
การรักษาด้วยยา
Danazol
แพทย์ให้การรักษาด้วยยา Enantone 3.75 mg โดยฉีดเข้ากล้ามเนื้อ จํานวน 3
เข็มก่อนทําผ่าตัดโดยแต่ละเข็ม ฉีดห่างกันเข็มละ 1 เดือนเพื่อลดขนาดของก้อนเนื้องอกมดลูกก่อนทําผ่าตัด Total laparoscopic hysterectomy
พบเยื่อบุตาซีด เล็กน้อย ใบหน้าซีดเล็กน้อย
Hb : 10.2 g/dl ต่ำ
มีภาวะซีดเนื่องจากสูญเสียเลือดจากการผ่าตัด
Hct : 27% ต่ำ BEL 100cc
มีแผลผ่าตัดบริเวณหน้าท้อง 3 แผล Pain score 7-8 คะแนน
.ปวดแผลเนื่องจากเนื้อเยื่อบริเวณหน้าท้องได้รับการบาดเจ็บจากการผ่าตัด
หลังผ่าตัดวันที่ 4/8/64 ยังไม่ถ่ายอุจจาระ ท้องโปร่งตึง Bowel sound 3 ครั้ง/นาที
มีภาวะท้องอืดเนื่องจากใช้Co2เข้ารับการผ่าตัด
ยาในกลุ่ม GnRH agonist
รักษาโดยการติดตามการเปลี่ยนแปลงของเนื้องอกเป็นระยะ
การรักษาโดยการผ่าตัด
การผ่าตัดผ่านกล้องทางนรีเวช( Laparoscopic surgery in gynecology )
การรักษาโดยฉีดสารพิเศษเข้าไปอุดหลอดเลือดที่เลี้ยงมดลูก
ข้อมูลผู้ป่วย
การซักประวัติ
ดื่มกาแฟกับขนม/เบเกอร์รี่ ชอบทานมื้อเย็นมากกว่ามื้ออื่นๆ ไม่ค่อยรับประทานผักและผลไม้ การขับถ่าย 2-3 วัน/ครั้ง ไม่ค่อยออกกำลังกาย
ก่อนผ่าตัดมีสีหน้ากังวล
วิตกกังวลเกี่ยวกับการผ่าตัดแบบส่องกล้องเนื่องจากพร่องความรู้ในการปฏิบัติตัวก่อนและหลังผ่าตัด
เพศ หญิง อายุ 42 ปี ส่วนสูง155 น้ำหนัก 65 BMI 27.06 กิโลกรัม/ตารางเมตร อ้วนระดับ2
.มีภาวะโภชนาการเกินและท้องผูกเนื่องจากพฤติกรรมการดูแลตนเองไม่เหมาะสม