Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
รากฐานแห่งพระราชอำนาจ - Coggle Diagram
รากฐานแห่งพระราชอำนาจ
อิทธิพลและการสนับสนุนจากศาสนา
พราหมณ์-ฮินดู
จะเป็นได้นั้นต้องผ่านการประกอบพิธกรรมจากมหาเทพ
คณะพราหมณ์มีลัทธิถ่ายทอดโองการจากเทพเจ้า
มีตำแหน่งทางราชการ
ได้รับพระมหากรุณาธิคุณให้ตั้งศาสนสถาน
แนวคิดว่า กษัตริย์ คือ พระเจ้า
พระพุทธศาสนา
สมัยสุโขทัยรับนิกายเถรวาทจากลัทธิลังกาวงศ์
ส่งเสริมเสถียรภาพทางการเมือง
การมีบุญญาธิการและคุณธรรม
ไม่สนับสนุนการใช้อำนาจ
กำหนดขอบเขตพระราชจริยวัตรของกษัตริย์
ทศพิธราชธรรม
ราชจรรยานุวัตรและจักรวรรดิวัตร
เถรวาทและมหายานเข้ามาช่วงใกล้เคียงกับศาสนาพราหมณ์
การสนับสนุนและความจงรักภักดีของกลุ่มบุคคล
กลุ่มชนชั้นสูง
พระราชวงศ์
ถูกยกเลิกสมัยอยุธยา มาใช้ในการสถาปนาหรือเลื่อนอิสริยยศ
สมัยสุโขทัยและอยุธยาตอนต้นการสถาปนาเป็นลักษณะการเฉลิมพระนามาภิไทย
ญาติใกล้ชิดกับพระมหากษัตริย์กำลังสำคัญในการค้ำจุนและช่วงชิงบัลลังก์
ขุนนาง
ระบุราชทินนามและศักดินาไว้ชัดเจน
กลุ่มบุคคลที่รับราชการ
มีความสามารถด้านทหารและพลเรือน
กลุ่มสมณพราหมณ์
พราหมณ์
ผู้ประกอบพิธีกรรม
เป็นขุนนางประจำราชสำนัก
โหราศาสตร์
อักษรศาสตร์
กฎหมาย
สมัยอยุธยามีตำแหน่งสำคัญ
พระดหรามาธิบดี
พระมหาราชครู
พระภิกษุสงฆ์
เป็นผู้สืบศาสนาและเผยแผ่หลักธรรมให้แก่ประชาชน
เสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันพระมหากษัตริย์
กลุ่มผู้ปกครอง
พ่อค้า
ไม่ต้องเกณฑ์แรงงาน แต่เป็นทหารอาสาแทน
จ่ายค่าผูกปี้
ได้รับอุปถัมและสิทธิพิเศษ
ไพร่
มีศักดินา 25 ไร่เป็นเสรีชน
ชาย รับราชการตามสังกัดตน
หญิง เกณฑ์แรงงานช่วยเจ้านายตามสังกัด
หากอยู่ไกลจากราชธานี ใช้การส่งส่วยแทนการเกณฑ์แรงงาน
ทาส
รัชกาลที่ 5 ยกเลิกระบบไพร่ทาส
ต่ำสุดในสังคม