Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ - Coggle Diagram
การสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
การพยาบาลเพื่อการจัดการปัญหาภาวะโภชนาการในผู้สูงอายุ
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภาวะโภชนาการในผู้สูงอายุ
การเปลี่ยนแปลงของร่างกายที่มีผลกระทบต่อภาวะโภชนาการผู้สูงอายุ เช่น การรับรส การดมกลิ่น ความต้องพลังงานลดลง
ปัญหาการเจ็บป่วยทางร่างกาย เช่น ภาวะทุพพลภาพ
ภาวะโภชนาการที่เป็นอยู่และบริโภคนิสัยเกิดจากพฤติกรรมการบริโภคตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจัย
ความสามารถในการเข้าถึงแหล่งอาหาร เช่น การเดินทาง
ภาวะเศรษฐกิจและสังคม
ปัญหาด้านจิตใจ เช่น ภาวะซึมเศร้า
ปัญหาภาวะโภชนาการในผู้สูงอายุและแนวทางการพยาบาล
แนวทางการพยาบาลภาวะโภชนาการเกิน
ประเมินสาเหตุของภาวะโภชนาการเกิน เช่น ปริมาณอาหารที่รับประทาน
ส่งเสริมการควบคุมน้ำหนักให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ
ให้ความรู้การรับประทานอาหารที่เหมาะสม
ภาวะโภชนาการต่ำ
ประเมินสาเหตุภาวะทุพโภชนาการ เช่น ปริมาณอาหารที่รับประทาน
การจัด/ปรับ ปริมาณหารให้ผู้สูงอายุให้เหมาะสม
ความต้องการสารอาหารในผู้สูงอายุ
ความต้องการพลังงาน
ความต้องการโปรตีน 1 gm :1 kg
ความต้องการไขมันไม่เกิน 30% ของปริมาณทั้งหมด
ความต้องการคาร์โบไฮเดรต 50-55% ของปริมาณทั้งหมด
ความต้องการแร่ธาตุ แคลเซียมและธาตุเหล็ก
ความต้องการวิตามิน
ความต้องการน้ำ ควรได้รับน้ำไม่ต่ำกว่า 1,500 ml : dl
การประเมินภาวะโภชนาการ
การประเมินอาหารที่บริโภค
การวัดสัดส่วนของร่างกาย-ประเมิน BMI
การวัดความหนาไขมันใต้ผิวหนัง
การตรวจวัดค่าทางชีวเคมี เช่น ภาวะซีด โปรตีนในร่างกาย
การประเมินทางคลินิก
การคัดกรองภาวะโภชนาการในผู้สูงอายุโดยใช้แบบประเมิน
การป้องกันภาวะพลัดตกหกล้ม
ปัจจัยเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้ม
ปัจจัยภายในบุคคล
ปัจจัยที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของกระบวนการชราภาพ
ปัจจัยที่เกิดจากการเจ็บป่วยหรือพยาธิสภาพของโรค
ปัจจัยภายนอกบุคคล
สิ่งแวดล้อมภายในบ้าน
ความหมายของการพลัดตกหกล้ม เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจากการที่บุคคลเสียหลักล้มลงไปพื้น ซึ่งไม่ได้เกิดจากการถูกทำร้ายหรือการหมดสติ
ผลกระทบต่อการพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุ
ด้านร่างกาย อาการฟกช้ำ เคล็ดขัดยอก
ด้านจิตใจ เกิดความกลัว วิตกกังวล
ทางสังคม ลดการออกไปพบเพื่อนและครอบครัว
หลักการพยาบาลเพื่อป้องกันการพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุ
การจำแนกผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้มการให้คำแนะนำแก่ผู้สูงอายุ
การดูแลผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงสูงต่อการพลัดตกหกล้ม
การประเมินความเสี่ยงการพลัดตกหกล้ม
ประเมินความสามารถการประเมินและการทรงตัว
ประเมินความสามารถการทำกิจวัตรประจำวัน
แบบประเมินสิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัย
การมีส่วนร่วมในสังคม
การมีส่วนร่วมในสังคมหมายถึงการมีส่วนร่วมในครอบครัว ชุมชนและสังคม
ความสำคัญของการมีส่วนร่วมในสังคมผู้สูงอายุ ผู้สูงอายุเป็นบุคคลที่มีความรู้และประสบการณ์มากเป็นผู้ถึงพร้อมทั้งคุณวุฒิและวัยวุฒิ เป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่า
ประเภทของการมีส่วนร่วมในสังคม
กิจกรรมที่มีรูปแบบ เช่น เข้าร่วมสมาคมต่างๆ
กิจกรรมที่ทำคนเดียว เช่น ทำงานในยามว่าง
กิจกรรมไม่มีรูปแบบ เช่น การช่วยเหลืองานในครอบครัว
ประโยชน์ที่ได้จากกิจกรรมบริการผู้อื่น
การช่วยเหลือผู้อื่นในการแก้ปัญหา
ติดต่อสัมพันธ์กับผู้อื่น
การเสียสละต่อสังคม
การเสียสละหรือบริการผู้อื่น
การได้เสียสละ
ทฤษฎีที่เกี่ยวกับผู้สองอายุที่กล่าวถึงบทบาททางสังคมและกิจกรรมทางสังคมผู้สูงอายุ
ทฤษฎีบทบาททางสังคม
ทฤษฎีกิจกรรมทางสังคม
การพยาบาลเพื่อจัดการสิ่งแวดล้อมสำหรับผู้สูงอายุ
กระบวนการเปลี่ยนแปลงร่างกายที่ส่งผลให้เกิดการบาดเจ็บเนื่องจากมีสภาพแวดล้อมไม่เหมาะสมสำหรับผู้สูงอายุ
ความเสื่อมถอยของกล้ามเนื้อ
ความเสื่อมถอยของกระดูก
การเสื่อมถอยทางการได้ยิน
ประสาทรับความรู้สึกลดน้อยลง
ลานสายตาแคบลง
ระบบประสาทและสมองเสื่อมถอย
สิ่งแวดล้อมที่อยู่อาศัยที่เหมาะสำหรับผู้สูงอายุ
ประตู ไม่ควรมีธรณีประตู
บันได ควรติดตั้งราวจับให้มั่นคง
ห้องนอน ควรจัดให้มีพื้นที่ถ่ายเทได้สะดวก
พื้น ควรเป็นพื้นเรียบ
สัญญาณขอความช่วยเหลือเมื่อจำเป็น
ตัวบ้าน ควรเป้นบ้านชั้นเดียว ไม่มีขั้นที่สูง
แสงไฟสว่างเพียงพอในเวลากลางวันและกลางคืน
เก้าอี้ ควรมีพนักพิง
ห้องน้ำ ควรมีราวจับ พื้นไม่ลื่น
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมการออกกำลังกายในผู้สูงอายุ
ประโยชน์ของการออกกำลังกายในผู้สูงอายุ
ลดอัตราการเกิดโรคที่ป้องกันได้ เช่น โรคหัวใจ โรคอ้วน
ลดภาวการณ์พึ่งพา ลดภาวะทุพพลภาพ
ทำให้ร่างกายมีสมรรถภาพทางกายดีขึ้น
ลดภาวะซึมเศร้า ความวิตกกังวล
ข้อควรระวังในการออกกำลังกายสำหรับผู้สูงอายุ
ไม่ออกกำลังกายขณะเจ็บป่วย
ไม่ออกกำลังกายหลังรับประทานอาหารอิ่มใหม่ๆ
งดออกกำลังกายชั่วคราวหากพบอาการผิดปกติ
สังเกตอาการหอบ
แบบประเมินการนอนหลับพักผ่อน
คำถามเบื้องต้นได้แก่ นอนหลับยากหรือไม่ ตื่นกลางดึกหรือไม่ คืนละประมาณกี่ครั้ง
ตรวจสอบประวัติโรคประจำตัว
ตรวจสอบประวัติการใช้สารเสพติด
สังเกตอาการและอาการแสดง
ปัจจัยที่มีผลต่อการนอนไม่หลับในผู้สูงอายุ
ปัจจัยภายในร่างกาย
ปัจจัยภายนอกร่างกาย
กลไกทางสรีรวิทยาของการนอนหลับในผู้สูงอายุ
NREM เป็นระยะที'ไม่มีการกลอกตาอย่างรวดเร็ว
REM เป็นขั้นตอนของการนอนหลับๆตื่นๆ
แบบแผนการนอนหลับในผู้สูงอายุ
ระยะ REM ลดลง
ตื่นเป็นระยะ 1-2 ครั้ง/คืน
ระยะ Stage 3 4 NREM นอนหลับสนิทลดลง
ตื่นเร็วกว่าเดิม
ระยะ Stage 1 NREM ตื่นบ่อยตอนกลางคืน
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมการนอนหลับ
จัดสิ่งแวดล้อมที่สงบ
ที่นอน หมอน สะอาด ไม่แข็งเกินไป
เข้านอนเมื่อรู้สึกง่วนงนอน
ก่อนเข้านอนควรทำความสะอาดร่างกาย
เข้านอนและตื่นนอนให้ตรงเวลา
การจัดการความเครียดในผู้สูงอายุ
การจัดการต่อความเครียด
การจัดการต่อความเครียดโดยมุ่งแก้ปัญหา
การปรับแก้โดยมุ่งปรับอารมณ์
สาเหตุของความเครียด
ขาดปัจจัยพื้นฐาน
ถูกทำร้าย
การเจ็บป่วย
สัมพันธภาพของบุคคลในครอบครัว
การถูกทอดทิ้ง
การสูญเสีย
การประเมินความเครียด
การสัมภาษณ์บุคคลใกล้ชิด
การตรวจร่างกาย
ประเมินโดยใช้แบบสอบถาม
การตรวจทางห้องทดลอง
การใช้เทคนิคการฉายภาพ
การวัดความตึงตัวของกล้ามเนื้อ
การตอบสนองต่อความเครียด
การตอบสนองความเครียดด้านจิตใจเมื่อเกิดความเครียด
การหนีและเลี่ยง
การปรับตัว
ยอมรับและพร้อมเผชิญกับภาวะความเครียด
เรียนรู้ที่จะอยู่กับความเครียด
การพยาบาลผู้สูงอายุที่มีภาวะเครียด
การวินิจัยทางการพยาบาล
การปฏิบัติทางการพยาบาล
ประเมินปัญหาทางการพบยาบาล
การให้การพยาบาลเพื่อป้องกันการเกิดความเครียด
การประเมินผลทางการพยาบาล
การนันทนาการในผู้สูงอายุ
กิจกรรมนันทนาการที่เหมาะสำหรับผู้สูงอายุ
ร้องเพลง เล่นดนตรี
การเต้นรำ
ศิลปหัตถกรรม
อ่านหนังสือ เขียนบันทึก
กีฬา การละเล่น
กิจกรรมการแสดง
ความหมายของนันทนาการ เป็นกิจกรรมที่ทำตามสมัครใจในยามว่างเพื่อให้เกิดความสนุกเพลิดเพลิน
ประโยชน์ของกิจกรรมนันทนาการต่อผู้สูงอายุ
ป้องกันซึมเศร้า
นำไปสู่การมองโลกในแง่ดี
ฝึกสมองให้คิดวางแผน
เปิดโอกาสให้ผู้สูงอายุมีบทบาทในสังคม