Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 5 เครื่องมือที่ใช้ในการวัดผลในศตวรรษที่ 21 - Coggle Diagram
หน่วยที่ 5 เครื่องมือที่ใช้ในการวัดผลในศตวรรษที่ 21
แนวคิดหลักของการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
(1) มาตรฐานในศตวรรษที่ 21
(2) การประเมินทักษะในศตวรรษที่ 21
(4) การพัฒนาทางวิชาการในศตวรรษที่ 21
(3) หลักสูตรและการสอนในศตวรรษที่ 21
(5) สภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
กรอบแนวคิดทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
(1) สาระวิชาหลัก
(1.1) ความรู้เกี่ยวกับโลก
(1.2) ความรู้เกี่ยวกับการเงิน เศรษฐศาสตร์ ธุรกิจ และการเป็นผู้ประกอบการ
(1.3) ความรู้ด้านการเป็นพลเมืองที่ดี
(1.4) ความรู้ด้านสุขภาพ
(1.5) ความรู้ด้านสิ่งแวดล้อม
(2) ทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม
(2.1) ความริเริ่มสร้างสรรค์และนวัตกรรม
(2.2) การคิดอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหา
(2.3) การสื่อสารและการร่วมมือ
(3) ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี
(3.1) ความรู้ด้านสารสนเทศ
(3.2) ความรู้เกี่ยวกับสื่อ
(3.3) ความรู้ด้านเทคโนโลยี
(4) ทักษะด้านชีวิตและอาชีพ
(4.1) ความยืดหยุ่นและการปรับตัว
(4.2) การริเริ่มสร้างสรรค์และเป็นตัวของตัวเอง
(4.3) ทักษะสังคมและสังคมข้ามวัฒนธรรม
(4.4) การเป็นผู้สร้างหรือผู้ผลิต
แนวทางการวัดและประเมินทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
ประการแรก
การวัดและประเมินผลเพื่อพัฒนาผู้เรียน โดยเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับผลการเรียน และการเรียนรู้ของผู้เรียน ในระหว่างการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่อง
ประการที่สอง
การวัดและประเมินผลเพื่อตัดสินผลการเรียน เป็นการประเมินสรุปผลการเรียนรู้
จุดเน้นของการวัดและประเมินทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
(1) สร้างความสมดุลในการประเมินผลเชิงคุณภาพ
(2) เน้นการน าประโยชน์ของผลสะท้อนจากการปฏิบัติของผู้เรียนมาปรับปรุงแก้ไขงาน
4) สร้างและพัฒนาระบบแฟ้มสะสมงาน (Portfolios)
(3) ใช้เทคโนโลยีเพื่อยกระดับการทดสอบวัดและประเมินผลให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด
วิธีการวัดและประเมินทักษะทักษะในศตวรรษที่ 21
(1) การประเมินด้วยการสื่อสารส่วนบุคคล
(1.1) การถามตอบระหว่างทำกิจกรรมการเรียน
(1.2) การพบปะสนทนาพูดคุยกับผู้เรียน
(1.3) การพบปะสนทนาพูดคุยกับผู้เกี่ยวข้องกับผู้เรียน
(1.4) การสอบปากเปล่าเพื่อประเมินความรู้ ความเข้าใจ และเจตคติ
(1.5) การอ่านบันทึกเหตุการณ์ต่าง ๆ ของผู้เรียน
(1.6) การตรวจแบบฝึกหัดและการบ้านพร้อมให้ข้อมูลป้อนกลับ
(2) การประเมินจากการปฏิบัติ
(2.1) ภาระงานหรือกิจกรรมที่จะให้ผู้เรียน ปฏิบัติ
(2.2) เกณฑ์การให้คะแนน
(3) การประเมินตามสภาพจริง
(3.1) กำหนดจุดประสงค์การเรียนรู้โดยพิจารณามาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดจากหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
(3.2) กำหนดกิจกรรมการเรียนการสอนและออกแบบ/สร้างเครื่องมือวัดและประเมินผลการศึกษา
(4) การประเมินด้วยแฟ้มสะสมงาน
(4.1) ลักษณะของแฟ้มสะสมงาน
(4.1.1) เป็นการสะสมงานที่สำคัญของนักเรียนแต่ละคน
(4.1.2) เน้นผลงานเป็นสำคัญ
(4.1.3) บ่งชี้จุดแข็งของนักเรียนมากกว่าจุดบกพร่อง
(4.1.4) เอื้อต่อการสื่อสารผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนต่อบุคคลอื่น
(4.1.5) เน้นนักเรียนเป็นศูนย์กลาง
(4.2) ประเภทของแฟ้มสะสมงาน
(4.2.1) แฟ้มสะสมงานระหว่างดำเนินการ
(4.2.3) แฟ้มสะสมงานแบบอิเล็กทรอนิกส์
(4.2.2) แฟ้มสะสมงานที่สมบูรณ์
(4.3) ส่วนประกอบของแฟ้มสะสมงาน
(4.3.1) ส่วนนำ ประกอบด้วย ปก ประวัติผู้ทำ รายการจุดประสงค์การเรียนรู้ แผนการศึกษา ส่วนบุคคล สารบัญชิ้นงาน รายการทั้งหมดและรายการที่ได้รับคัดเลือก
(4.3.2) ส่วนบรรจุหลักฐานชิ้นงาน
(4.4) สิ่งที่เก็บในแฟ้มสะสมงาน
(4.4.1) ผลงานต่าง ๆ
(4.4.2) ผลการทดสอบ
(4.4.3) การเรียนบันทกรายวัน
(4.4.4) การประเมินตนเอง
(4.4.5) การประเมินโดยเพื่อนร่วมชั้น
(4.4.6) การสังเกต
(4.4.7) การประชุมร่วมกัน