Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 2 พฤติกรรมการศึกษา - Coggle Diagram
หน่วยที่ 2 พฤติกรรมการศึกษา
การจำแนกพฤติกรรมทางการศึกษา
ด้านพฤติกรรมพุทธิพิสัย (Cognitive Domain)
ความรู้ (Knowledge)
1.1 ความรู้เฉพาะเจาะจง
1.1.1 ความรู้เกี่ยวกับคำศัพท์และนิยาม
1.1.2 ความรู้เกี่ยวกับข้อเท็จจริงเฉพาะ
1.2 ความรู้เกี่ยวกับวิธีดำเนินการเฉพาะอย่าง
1.2.1 ความรู้เกี่ยวกับระเบียบแบบแผน
1.2.2 ความรู้เกี่ยวกับลำดับขั้นและแนวโน้ม
1.2.3 ความรู้เกี่ยวกับการจำแนกประเภทและจัดกลุ่ม
1.2.4 ความรู้เกี่ยวกับเกณฑ์
1.2.5 ความรู้เกี่ยวกับวิธีการ
1.3 ความรู้รวบยอดและนามธรรมในแต่ละเนื้อเรื่อง
1.3.1 ความรู้เกี่ยวกับหลักวิชาและข้อสรุปอ้างอิง
1.3.2 ความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีและโครงสร้าง
ความเข้าใจ (Comprehension)
2.1 การแปลความ
2.2 การตีความ
2.3 การขยายความ
การนำไปใช้ (Application)
การนำไปใช้เป็นความสามารถในการประยุกต์หลักการ เทคนิค แนวคิด หรือทฤษฎีต่าง ๆ เพื่อแก้ปัญหาในสถานการณ์ที่แปลกใหม่
การวิเคราะห์ (Analysis)
4.1 การวิเคราะห์ส่วนประกอบ
4.2 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์
4.3 การวิเคราะห์หลักการ
การสังเคราะห์ (Synthesis)
5.1 การสังเคราะห์ข้อความ หรือการถ่ายทอดความคิด
5.2 การสังเคราะห์แผนงาน หรือเสนอโครงการดำเนินงาน
5.3 การสังเคราะห์ความสัมพันธ์ ของสิ่งที่เป็นนามธรรม
การประเมินค่า (Evaluation)
6.1 การตัดสินโดยอาศัยข้อเท็จจริงภายในเหตุการณ์
6.2 การตัดสินโดยใช้เกณฑ์ภายนอก
ด้านพฤติกรรมจิตพิสัย (Affective Domain)
ขั้นเห็นคุณค่าหรือสร้างค่านิยม
ขั้นจัดระบบค่านิยม
ขั้นตอบสนอง
ขั้นสร้างลักษณะนิสัยจากค่านิยม
ขั้นรับรู้
ด้านพฤติกรรมทักษะพิสัย (Psychomotor Domain)
การรับรู้
การเตรียมความพร้อม
การตอบสนองตามแนวชี้แนะ
การปฏิบัติได้ด้วยตนเอง
การตอบสนองที่ซับซ้อน
การดัดแปลง
การริเริ่ม
คุณภาพผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
1.วิสัยทัศน์
ให้เป็นมนุษย์ที่มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลก
จุดหมาย
มีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์
มีความรู้อันเป็นสากลและมีความสามารถในการสื่อสาร การคิดการแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยีและมีทักษะชีวิต
มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดีมีสุขนิสัยและรักการออกกำลังกาย
มีความรักชาติ มีจิตส านึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก
มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม
สมรรถนะสำคัญของนักเรียน
ความสามารถในการสื่อสาร
ความสามารถในการคิด
ความสามารถในการแก้ปัญหา
ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
ซื่อสัตย์สุจริต
มีวินัย
รักชาติ ศาสน์กษัตริย์
ใฝ่เรียนรู้
อยู่อย่างพอเพียง
มุ่งมั่นในการทำงาน
รักความเป็นไทย
มีจิตสาธารณะ
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้
1.ภาษาไทย
2.คณิตศาสตร์
3.วิทยาศาสตร์
4.สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
5.สุขศึกษาและพลศึกษา
6.ศิลปะ
7.การงานอาชีพและเทคโนโลยี
8.ภาษาต่างประเทศ
:กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
1.กิจกรรมแนะแนว
2.กิจกรรมนักเรียน
3.กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์