Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 4 เครื่องมือที่ใช้ในการวัดผล (เพิ่มเติม) - Coggle Diagram
หน่วยที่ 4 เครื่องมือที่ใช้ในการวัดผล (เพิ่มเติม)
ความหมายของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ (Achievement test) หมายถึง แบบทดสอบที่ใช้วัดระดับของความรู้ในเชิงวิชาการของผู้เรียนที่เป็นผลจากการจัดการเรียนการสอน
ประเภทของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
2.1 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ที่ครูสร้างขึ้นเอง
มีลักษณะเป็นแบบทดสอบข้อเขียน (Paper and pencil test) ซึ่งแบ่งออกได้อีก 2 ชนิดคือ
แบบทดสอบแบบอัตนัย (Subjective or essay test)
แบบทดสอบปรนัย หรือแบบให้ตอบสั้น ๆ (Objective test or short answer)
2.2 แบบทดสอบมาตรฐาน
หมายถึง แบบทดสอบที่มุ่งวัดผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนทั่วไป ซึ่งสร้างโดยผู้เชี่ยวชาญ มีการวิเคราะห์และปรับปรุงอย่างดีจนมีคุณภาพ มีมาตรฐาน
ขั้นตอนในการสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
3.1 วิเคราะห์หลักสูตรและสร้างตารางวิเคราะห์หลักสูตร
การวิเคราะห์หลักสูตรจะแสดงผลเป็นความสัมพันธ์ของเนื้อหาและพฤติกรรมของสิ่งที่จะวัด “ตารางวิเคราะห์หลักสูตร” (Table of specifications) มีขั้นตอนในการดำเนินการดังนี้
สร้างตารางวิเคราะห์หลักสูตร
กำหนดน้ำหนักของแต่ละพฤติกรรมและเนื้อหาของรายวิชา
วิเคราะห์เนื้อหาที่ต้องการจัดการเรียนการสอน
รวมน้ำหนักของแต่ละพฤติกรรมและเนื้อหาของรายวิชาของกรรมการทุกคนและนำมาหาค่าเฉลี่ย
วิเคราะห์เนื้อหาที่ต้องการจัดการเรียนการสอน
หาค่าเฉลี่ยรวมน้ าหนักของแต่ละพฤติกรรมและเนื้อหาของรายวิชา
กำหนดกรรมการวิเคราะห์หลักสูตร
นำคะแนนเฉลี่ยมาเทียบเป็น 100 หน่วย
3.2 ออกแบบการสร้างแบบทดสอบ
วางแผนการทดสอบ (Test desing) ซึ่งตามหลักสูตรของการศึกษาขั้นพื้นฐานจะมีการทดสอบทั้งหมด 3 ครั้ง ดังนี้
ทดสอบระหว่างเรียน
ทดสอบหลังเรียน
ทดสอบก่อนเรียน
กำหนดรูปแบบในการทดสอบ
เป็นการพิจารณาการใช้รูปแบบของการทดสอบที่เหมาะสมกับ
สมรรถภาพ เนื้อหาในการทดสอบแต่ละครั้ง
แบบทดสอบอิงเกณฑ์
แบบทดสอบเขียนตอบ
แบบทดสอบอัตนัย
แบบทดสอบปรนัย
แบบทดสอบใช้ความเร็ว
3.3 สร้างแผนผังการทดสอบ
ดำเนินการดังนี้
กำหนดจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมของแต่ละหน่วย
กำหนดน้ำหนักความสำคัญของแต่ละจุดประสงค์
กำหนดน้ำหนักความสำคัญของแต่ละหน่วย
กำหนดจำนวนข้อสอบรวม
กำหนดหน่วยการเรียนรู้
ระบุจำนวนข้อสอบในแต่ละระดับพฤติกรรมตามจุดประสงค์การเรียนรู้
3.4 เขียนข้อสอบ
มีขั้นตอนในการดำเนินการดังนี้
กำหนดข้อสอบฉบับร่าง
ทบทวนและตรวจสอบข้อสอบฉบับร่าง
กำหนดลักษณะเฉพาะของข้อสอบ
3.5 การทดลองใช้
ในการทดลองใช้ข้อสอบจะมีการวิเคราะห์คุณภาพของข้อสอบและแบบทดสอบ ซึ่งเรียกกระบวนการนี้ว่า การวิเคราะห์ข้อสอบ(Item analysis) ดังนี้
การวิเคราะห์ทางกายภาพ
การวิเคราะห์เชิงปริมาณ
3.6 คัดเลือกข้อสอบที่มีความเหมาะสม
โดยหลังจากที่ครูผู้สอนได้วิเคราะห์เชิงปริมาณ ของข้อสอบแต่ละข้อแล้ว จะทำให้ครูทราบว่าข้อสอบข้อใดที่มีมีความยากพอเหมาะ (มีค่าประมาณ 0.5) และมีอำนาจจำแนกสูง (มีค่าเข้าใกล้ 1.00) แต่ในบางครั้งในการคัดเลือกข้อสอบอาจเลือกข้อสอบที่มีอำนาจจำแนกไม่สูงมาก เพื่อให้ข้อสอบที่คัดเลือกมีความครอบคลุมเนื้อหาที่ต้องการ
3.7 จัดพิมพ์ข้อสอบ
เมื่อได้ข้อสอบครบถ้วนแล้วจึงนำมาจัดพิมพ์เป็นแบบทดสอบฉบับสมบูรณ์