Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุปองค์ความรู้ที่ได้รับ - Coggle Diagram
สรุปองค์ความรู้ที่ได้รับ
บทที่ 1 แนวคิดหลักการ และแนวปฏิบัติในการวัดและประเมินผล
การเรียนรู้ของผู้เรียน
การวัดและการประเมินผลเป็นองค์ประกอบที่สําคัญองค์ประกอบหนึ่งของการจัดการศึกษาโดยเฉพาะใน กระบวนการจัดการเรียนการสอน ครูผู้สอนจะต้องกําหนดจุดประสงค์การเรียนรู้แล้วจึงจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
ความหมายของการวัดผล การทดสอบและประเมินผล
การวัดผล (Measurement) หมายถึง กระบวนการกําหนดตัวเลขหรือสัญลักษณ์ให้กับบุคคล สิ่งของ หรือ เหตุการณ์อย่างมีกฎเกณๆ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่แทนปริมาณหรือคุณภาพของสิ่งที่จะวัด
การวัดผลทางการศึกษา หมายถึง กระบวนการในการหาปริมาณความสามารถเกี่ยวกับพฤติกรรมที่เกิด จากการจัดการเรียนการสอนของครูผู้สอน โดยใช้เครื่องมือที่เหมาะสมในการวัดพฤติกรรมทางการศึกษาที่สนใจ
การทดสอบ (Test) หมายถึง เป็นเทคนิคที่ใช้การวัดผลทางการศึกษาประเภทหนึ่ง โดยเครื่องมือที่ใช้ ในการวัดผลคือ “แบบทดสอบ”
การประเมินผล (Evaluation) หมายถึง การตัดสิน หรือวินิจฉัยสิ่งต่างๆ ที่ได้จากการวัดผล โดยอาศัย เกณฑ์การพิจารณาอย่างใดอย่างหนึ่ง
องค์ประกอบของการวัดผลและการประเมินผล
2.1 องค์ประกอบของการวัด
องค์ประกอบของการวัดประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ คือ
ปัญหาหรือสิ่งที่จะวัด
ครื่องมือวัดหรือเทคนิคที่จะใช้
ข้อมูลที่ได้
2.2องค์ประกอบของการประเมิน
องค์ประกอบของการประเมิน ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ คือ
อมูลที่ได้จากการวัด
เกณฑ์
การตัดสินคุณค่า
ความสัมพันธ์ระหว่างการวัดและประเมินผลกับกระบวนการเรียนการสอน
มีองค์ประกอบที่สําคัญ 3 ส่วนได้แก่
จุดประสงค์การเรียนรู้ (Learning Objectives)
กิจกรรมการเรียนการสอน (Learning Experience)
การวัดและประเมินผล (Evaluation)
การประเมินแบบ Assessment หมายถึง กระบวนการในการรวบรวมข้อมูลสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับ ผู้เรียนอย่างเป็นระบบ เพื่อสะท้อนให้เห็นความสามารถที่แท้จริงของผู้เรียนทั้งจุดเด่นที่ควรส่งเสริม และจุดด้อยที่ ต้องปรับปรุงแก้ไข
การประเมินแบบ Evaluation หมายถึง การตัดสินผู้เรียนจากพฤติกรรมทางการศึกษาได้วัดได้โดยเทียบ กับเกณฑ์หรือมาตรฐานทางการศึกษาที่กําหนดเอาไว้ เพื่อตัดสินว่าผู้เรียนนั้นมีพฤติกรรมทางการศึกษาที่สนใจอยู่ ในระดับใด ๆ
จุดมุ่งหมายของการวัดผลการศึกษา
การวัดและการประเมินผลกับกระบวนการเรียนการสอนที่ได้กล่าวมาแล้วจะ เห็นว่าการวัดผลเกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนการสอนแต่ผลที่ได้จากการวัดและประเมินผล การศึกษาควรจะนําไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในการจัดการเรียนการสอน ดังนี้
4.1 ค้นหาและพัฒนาสมรรถภาพของผู้เรียน
4.2 วินิจฉัย (Diagnosis)
4.3 จัดอันดับหรือตําแหน่ง (Placement)
4.4 เปรียบเทียบหรือทําให้ทราบพัฒนาการของผู้เรียน (Assessment)
4.5 พยากรณ์ (Prediction)
4.6 ประเมิน (Evaluation)
ธรรมชาติของวัดผลการศึกษา
ผู้ที่ทําการวัดผลการศึกษาจึงควรศึกษาถึงธรรมชาติของ การวัดผลการศึกษาดังนี้
5.1 การวัดผลการศึกษาเป็นการวัดที่ไม่สมบูรณ์ (Incomplete)
5.2 การวัดผลการศึกษาเป็นการวัดทางอ้อม (Indirect)
5.3 การวัดผลการศึกษามีความคลาดเคลื่อน (Error)
5.4 การวัดผลการศึกษาเป็นการวัดในเชิงสัมพันธ์ (Relation)
5.5 การวัดผลการศึกษาเป็นการวัดที่ไม่มีศูนย์แท้หรือศูนย์สมบูรณ์
มาตราการวัด
ซึ่งมาตรการวัดแบ่งออกเป็น 4 ระดับ ดังนี้
6.2 มาตราเรียงอันดับ(Ordinal Scale)
6.3 มาตราอันตรภาค(Interval Scale)
6.1 มาตรานามบัญญัติ(Nominal scale)
6.4 มาตราอัตราส่วน(Ratio Scale)
ขอบข่ายในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน
ซึ่งต้องพิจารณาหลายส่วนประกอบกัน ดังนี้
7.1 หลักการในการวัดผลการศึกษา ประกอบด้วย
(1) กําหนดจุดประสงค์ของการวัดและประเมินผล
(2) เลือกใช้วิธีการวัดให้เหมาะสม/เครื่องมือที่มีคุณภาพ
(6) มีความยุติธรรม
(3) เลือกใช้วิธีการวัด/เครื่องมือที่หลากหลาย
(7) ดําเนินการสอบที่มีคุณภาพ
4) เลือกตัวแทนของสิ่งที่จะวัดให้เหมาะสม
(5) ใช้ผลจากการวัดให้คุ้มค่า
7.2 กระบวนการวัดและประเมินผลทางการศึกษา
สร้างเครื่องมือ วัดผลการ เรียนรู้
ทดสอบและเก็บรวบรวมข้อมูล
กําหนด จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
จัดกระทํากับข้อมูล
กําหนด วัตถุประสงค์
ตัดสิน ผลการเรียน
การกําหนดวัตถุประสงค์ในการประเมินและสิ่งที่จะประเมิน
ในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ครูผู้สอนและนักเรียนจําเป็นต้องกําหนดวัตถุประสงค์ในการเรียนรู้ และกําหนดจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมร่วมกัน จากนั้นจึงสร้างเครื่องมือวัดผลการเรียนรู้และดําเนินการวัดผลและ จัดกระทํากับข้อมูลและตัดสินผลการเรียนตามขั้นตอนและกระบวนการวัดและประเมินผลการศึกษา
8.1 ประเภทของการประเมินผล
(1) จําแนกตามวัตถุประสงค์ของการประเมิน
(1.1) การประเมินผลก่อนเรียน (Pre-evaluation)
(1.3) การประเมินสรุป (Summative evaluation)
(1.2) การประเมินผลระหว่างเรียน (Formative evaluation)
(2) จําแนกตามระบบการวัดผล
(2.1) การประเมินแบบอิงกลุ่ม (norm-referenced evaluation)
(2.2) การประเมินแบบอิงเกณฑ์ (criterion-referenced evaluation)
8.2 การกําหนดสิ่งที่จะประเมิน
เมื่อครูผู้สอนกําหนดวัตถุประสงค์ในการประเมินได้แล้ว ปัจจัยที่จะต้องพิจารณาต่อมาคือ การกําหนดสิ่งที่จะต้องประเมินหรือพฤติกรรมที่ต้องการจะประเมิน ในการจัดการศึกษาเพื่อให้บรรลุความสําเร็จ นั้นจําเป็นจะต้องมีการกําหนดเป้าหมายของการจัดการศึกษาที่ชัดเจน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการจัดการเรียนการ จะต้องกําหนดพฤติกรรมทางการศึกษาที่ต้องการให้เกิดขึ้นแก่ผู้เรียนอย่างชัดเจน
การประโยชน์ของการประเมินผลการศึกษา
สรุปประโยชน์ของการประเมินผลการ เรียนรู้ไว้ดังนี้
ครูได้ข้อมูลพฤติกรรมของผู้เรียนเบื้องต้นก่อนจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ทําให้ครูสามารถจัด กิจกรรมการเรียนการสอนได้ตามความสามารถของแต่ละบุคคล
ช่วยให้ครูกําหนดหรือปรับปรุงจุดมุ่งหมายของการสอนให้ชัดเจนยิ่งขึ้น
ประเมินประสิทธิภาพการสอนของครูผู้สอนเอง
ผู้เรียนทราบถึงระดับความสามารถของตนเอง
เป็นประโยชน์ต่อผู้บริหารสถานศึกษาในการบริหารจัดการโรงเรียน
บทที่ 2 พฤติกรรมทางการศึกษา
ครู
เข้าใจสภาพการเรียนรู้ ของนักเรียน พัฒนาการเรียนรู้ของ นักเรียน/ตรงกับความ ต้องการของผู้เรียน
นักเรียน
ดูตัว รู้ตัว เข้าใจตัว ต้องการที่จะทําให้ตัวเองดีขึ้น
กระบวนการวัดและประเมินผล การเรียนรู้
เครื่องมือ วัดผลการ เรียนรู้
ทดสอบและ เก็บรวบรวม
กําหนด จุดประสงค์เชิง
พฤติกรรม
จัดกระทำกับข้อมูล
กําหนด วัตถุประสงค์
ตัดสินผลการเรียน
ธรรมชาติของการวัดและประเมินผล
การวัดผลการศึกษาเป็นการวัดที่ไม่สมบูรณ์
ารวัดผลการศึกษาเป็นการวัดในเชิงสัมพันธ์
การวัดผลการศึกษาเป็นการวัดทางอ้อม
การวัดผลการศึกษามีความคลาดเคลื่อน
การวัดผลการศึกษาเป็นการวัดที่ไม่มีศูนย์แท้หรือศูนย์สมบูรณ์
Contents
จุดมุ่งหมายของ
จุดประสงค์การเรียนรู้
การจําแนกพฤติกรรมทางการ
คุณภาพผู้รียนตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน
การจําแนกพฤติกรรมทางการ ศึกษา
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา
Cognitive Domain
Affective Domain
Education
Psychomotor Domain
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา
Cognitive
Analysis
Application
Synthesis
Comprehension
Evaluation
Knowledge
Affective
Valuing
Responding
Organization
Receiving
Characterization
by Value Set
Psychomotor
Non-discursive Communication
Skilled Movements
Physical Activities
Perceptual
Basic Fundamental Movement
Reflex Movements
พฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
ความรู้เฉพาะเจาะจง (Specifics)
ความรู้เกี่ยวกับคําศัพท์และนิยาม
ความรู้เกี่ยวกับข้อเท็จจริงเฉพาะ
ความรู้เกี่ยวกับวิธีดําเนินการเฉพาะอย่าง (Way and Means of Dealing with Specifics)
ความรู้เกี่ยวกับลําดับขั้นและแนวโน้ม
ความรู้เกี่ยวกับการจําแนกประเภทและจัดกลุ่ม
ความรู้เกี่ยวกับระเบียบแบบแผน
ความรู้เกี่ยวกับเกณฑ์
ความรู้เกี่ยวกับวิธีการ
ความรู้รวบยอดและนามธรรมในแต่ละเนื้อเรื่อง (Universal and Abstractions in a Field)
ความรู้เกี่ยวกับหลักวิชาและข้อสรุปอ้างอิง
ความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีและโครงสร้าง
ความเข้าใจ (Comprehension)
การขยายความ (Extrapolation)
ย่อความ
การตีความ (Interpretation)
คาดคะเน
การแปลความ (Translation)
การนําไปใช้ (Application)
เป็นความสามารถในการนําหลักการ กฏเกณฑ์และ วิธีดําเนินการต่างๆ ของเรื่องที่ได้รู้มา นําไปใช้แก้ ปัญหาในสถานการณ์ใหม่ได้
การวิเคราะห์ (Analysis)
การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ (Analysis of Relationships)
การวิเคราะห์หลักการ (Analysis of Organizational Principles)
การวิเคราะห์ส่วนประกอบ (Analysis of Elements)
การสังเคราะห์ (Synthesis)
การสังเคราะห์แผนงาน หรือเสนอโครงการดําเนินงาน
การสังเคราะห์ความสัมพันธ์ ของสิ่งที่เป็น นามธรรม
การสังเคราะห์ข้อความ หรือการถ่ายทอดความคิด
การประเมินค่า (Evaluation)
การตัดสินโดยใช้เกณฑ์ภายนอก
การตัดสินโดยอาศัยข้อเท็จจริงภายใน เหตุการณ์
พฤติกรรมด้านทักษะพิสัย (Psychomotor Domain)
การปฏิบัติได้ด้วยตนเอง (Mechanism)
การตอบสนองที่ซับซ้อน (Complex OvertResponse)
การตอบสนองตามแนวชี้แนะ (GuidedResponse)
การดัดแปลง (Adaptation)
การเตรียมความพร้อม (Set)
การริเริ่ม (Origination)
การรับรู้ (Perception)
คุณภาพผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการ ศึกษาขั้นพื้นฐาน
ตัวชี้วัด จะระบุสิ่งที่ผู้เรียนพึงรู้และปฏิบัติได้ รวมทั้ง คุณลักษณะของผู้เรียน
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดของแต่ละกลุ่ม สาระการเรียนรู้ที่ต้องกําหนดขึ้น สําหรับการ จัดการเรียนรู้ในสถานศึกษา หากนํามาวิเคราะห์ ขอบเขตของพฤติกรรมที่คาดหวังในแต่ละกลุ่ม สาระก็จะพบว่ามีครอบคลุมทั้ง 3 ด้าน ตามแนว การจําแนกพฤติกรรมการเรียนรู้ของบลูม คือ ด้านพุทธิพิสัย ด้านจิตพิสัยและด้านทักษะพิสัย
มาตรฐานการเรียนรู้ที่กําหนดไว้ในแต่ละกลุ่มสาระการ เรียนรู้เป็นเป้าหมายสําคัญของการพัฒนาคุณภาพผู้ เรียน
วิสัยทัศน์ จุดหมาย สมรรถนะสําคัญของนักเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มาตรฐานการเรียนรู้
บทที่ 3 การประเมินตามสภาพจริง
“การปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้” และมีความคาดหวังว่าหากระบบการจัดการศึกษา สามารถบูรณาการให้การเรียนคือชีวิตและชีวิตคือการเรียนได้แล้วจะทําให้ผู้เรียนเป็นคนเก่งดีและมีความสุข สามารถเรียนรู้จากการฝึกทักษะกระบวนการคิดได้เรียนจากประสบการณ์จริง จากทุกสถานที่ ทุกเวลา และ สามารถพัฒนาตนเองได้ตลอดชีวิตเต็มตาม ศักยภาพที่ตนเองมีอยู่ การปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้จึงเป็นเรื่องที่มี ความสําคัญและจําเป็นที่จะต้องสร้างความรู้ ความเข้าใจ ความเชื่อ เจตคติที่ถูกต้องเกี่ยวกับผู้เรียนกระบวนการ เรียนรู้และบทบาทของผู้สอนเรียกได้ว่าเป็นการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ (Paradigm Shift) เกี่ยวกับบริบทของ การเรียนรู้ใหม่ทั้งหมด
การจัดการเรียนการสอนแบบเดิม
กระบวนทัศน์ของการจัดการเรียนการสอนแบบเดิมผู้สอนเป็นศูนย์กลางกลาง (Teacher Center) กระบวนทัศน์เดิมทางการศึกษาเชื่อว่า ความรู้คือสิ่งที่สั่งสมอยู่ในตัวของผู้สอน ดังนั้น การจัดการเรียนการสอน จึงคือการถ่ายทอดความรู้จากผู้สอนไปสู่ผู้เรียน ผ่านกระบวนการสอนที่มุ่งเน้นเนื้อหาวิชาเป็นหลักผู้เรียนมีหน้าที่ รับฟังและจดจําในสิ่งที่บอกเท่านั้น
การจัดการเรียนการสอนแบบใหม่
กระบวนทัศน์ของการจัดการเรียนการสอนแบบใหม่ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางกลาง (Student Center)ดังนั้น กระบวนทัศน์ใหม่ของการจัดการเรียนการสอนจึงมุ่งให้ความสําคัญต่อ “กระบวนการ เรียนรู้ของผู้เรียน” และเน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ หรือ เป็นศูนย์กลาง ซึ่งเป็นวิธีการที่นักการศึกษายอมรับกันว่า มีประสิทธิภาพสูงในการให้การศึกษาและพัฒนาผู้เรียน เนื่องจากการจัดการเรียนการสอน ที่เน้นผู้เรียนเป็น ศูนย์กลางนี้
คุณลักษณะที่สําคัญ 2 ประการ คือ
(1) เป็นการจัดการเรียนการสอนที่เน้นกระบวนการคิด กระบวนการเรียนรู้ผู้เรียนและกลุ่มผู้เรียน มากกว่า เนื้อหาวิชาและผู้สอน
2) เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง (Learning by Doing) คือ การจัดการเรียนการสอนที่ ผู้สอนจัดกิจกรรมหรือสถานการณ์ต่าง ๆ เพื่อกระตุ้นและเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ใช้ความรู้ ประสบการณ์ ความชํานาญและความสนใจของตนเองมาสร้างเป็นเนื้อหาและกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติจริง
ตัวบ่งชี้ลักษณะการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ทฤษฎีการ เรียนรู้ที่สอดคล้องกับแนวทางการปฏิรูปการศึกษาใน 5 แนวทาง คือ การเรียนรู้อย่างมีความสุข การเรียนรู้แบบมี ส่วนร่วม การเรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิด การเรียนรู้เพื่อพัฒนาสุนทรียภาพและลักษณะนิสัยด้านศิลปะ ดนตรีกีฬา และการฝึกฝนกาย วาจา ใจ
กิจกรรมการเรียนการสอน
กิจกรรมการเรียนการสอน นับเป็นปัจจัยสําคัญประการหนึ่งของการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็น ศูนย์กลาง ซึ่งผู้สอนควรเลือกนํามาใช้ให้เหมาะสมกับเนื้อหาและกลุ่มของผู้เรียน เพื่อมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้ครบ ทั้ง 3 ด้าน คือ พุทธิพิสัย (Cognitive Domain) จิตพิสัย (Affective Domain) และทักษะพิสัย (Paychomotor Domain)
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามสภาพจริง
การวัดและประเมินผลการศึกษาจึงควรต้องดําเนินการให้ครบทั้ง 3 ด้าน ดังกล่าวแล้ว คือ ด้านพุทธิพิสัย จิตพิสัย และทักษะพิสัย แต่ในสภาพส่วนใหญ่ของระบบการศึกษาของไทยนั้นมักใช้ “ข้อสอบ” หรือ “แบบทดสอบ” เป็นเครื่องมือหลักในการวัดผล จึงสามารถวัดผลด้านพุทธิพิสัยได้เพียงด้านเดียว
5.1 ความหมายของการประเมินตามสภาพจริง (Authentic Assessment)
การประเมินตามสภาพจริง หมายถึง การประเมินผลที่ใช้วิธีการ และเกณฑ์ที่หลากหลายในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ความสามารถ และคุณลักษณะต่าง ๆ ของผู้เรียน
5.2 คุณลักษณะของการประเมินตามสภาพจริง
การประเมิน ตามสภาพจริงนั้น ควรมีลักษณะดังต่อไปนี้คือ
(4) ใช้ความคิดระดับสูง
(5) มีปฏิสัมพันธ์ทางบวก
(3) ผลผลิตมีคุณภาพ
(6) มีการกําหนดจํานวนงานขอบเขตและมาตรฐาน
(2) เป็นการประเมินรอบด้านด้วยวิธีการที่หลากหลาย
(7) สะท้อนลักษณะเฉพาะตัวของผู้เรียน
(1) งานที่ปฏิบัติเป็นงานที่มีความหมาย
(8) เป็นการประเมินอย่างต่อเนื่อง
(9) เป็นการบูรณาการซึ่งองค์ความรู้กล่าว
คุณลักษณะสําคัญของการประเมินตามสภาพจริงได้แก่
(2) การประเมินจากการปฏิบัติงานในชีวิตประจําวัน
(3) การประเมินโดยให้ผู้เรียนสร้างชิ้นงาน
(1) การประเมินจากการปฏิบัติงานอย่างใดอย่างหนึ่งของผู้เรียน
(4) การประเมินโดยเน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ
(5) การประเมินจากประจักษ์พยานหลักฐาน
ลักษณะสําคัญของการวัดและการประเมินผลจากสภาพจริง คือ
(3) เป็นการประเมินที่เปิดโอกาสให้มีผู้เรียนได้มีส่วนร่วมประเมินผล
(4) ข้อมูลที่ประเมินได้จะต้องสะท้อนให้เห็นถึงกระบวนการจัดการเรียนรู้และการวางแผนการสอน
(2) เป็นการประเมินความสามารถของผู้เรียน
(5) ประเมินความสามารถของผู้เรียนในการถ่ายโอนการเรียนรู้ไปสู่ชีวิตจริงได้
(1) ใช้วิธีการประเมินกระบวนการคิดที่ซับซ้อน
(6) ประเมินด้านต่าง ๆ ด้วยวิธีที่หลากหลายในสถานการณ์ต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง
5.3 ประโยชน์ของการประเมินผลตามสภาพจริง
ประโยชน์ของการประเมินผลตามสภาพจริง สามารถประมวลสรุปได้ดังนี้
(3) เน้นที่สาระสําคัญของลักษณะที่บ่งบอกถึงพัฒนาการทางการเรียนรู้
(4) เป็นปฏิบัติการที่เด่นชัดและแสดงให้เห็นกระบวนการแก้ปัญหาที่มีความสลับซับซ้อน
(2) เน้นการใช้ทักษะ ความรู้ความเข้าใจระดับสูงที่สามารถประยุกต์ใช้
(5) ส่งเสริมให้มีการใช้วิธีการประเมินผลที่หลากหลาย
(1) ใช้งานที่มีลักษณะปลายเปิดและสะท้อนกิจกรรมการเรียนการสอน
(6) สามารถใช้ได้กับทั้งรายบุคคลและรายกลุ่ม
12) สามารถนํามาใช้เป็นวิธีการประเมินในระยะยาวได้
(7) ให้ความสําคัญและสนใจในความคิดและความสามารถ
(8) สนองตอบความแตกต่างระหว่างบุคคลและประเภทของผู้เรียน
(9) ส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือกันในระหว่างกระบวนการเรียนการสอน
(10) ผู้เรียนและผู้สอน ล้วนมีบทบาทสําคัญในการประเมินผล
(11) ไม่เน้นว่าผลการศึกษาจะต้องเป็นไปตามเกณฑ์สมมุติฐานที่ตั้งไว้
(13) ให้ความสําคัญกับความก้าวหน้าที่ต้องการให้เกิดขึ้น
5.4 เครื่องมือในการประเมินตามสภาพจริง
วิธีการ-เครื่องมือ
การสังเกต ประกอบด้วย
(1) แบบสํารวจรายการ
(2) ระเบียนพฤติกรรม
การสอบถาม ได้แก่
แบบสอบถาม
(3) แบบมาตราส่วนประมาณค่า
การสัมภาษณ์ ได้แก่ แบบบันทึกการสัมภาษณ์
กิจกรรมที่จะวัด
วัดพฤติกรรมที่ลงมือปฏิบัติแล้วสังเกตความสามารถและ ร่องรอยของการปฏิบัติ
วัดกิจกรรมที่เป็นลักษณะนิสัยและความรู้สึก
สอบถามเพื่อให้ทราบถึงความรู้สึก ความคิด ความเชื่อ และ การกระทําด้านต่าง ๆ
ใช้วัดวามต้องการ ความสนใจ ที่แสดงความรู้สึกได้อย่างอิสระ
เป้าประสงค์หลักที่สําคัญที่สุดของกระบวนการเรียนการสอน ก็คือ การเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้เรียนให้ เป็นไปตามที่กําหนดไว้ในวัตถุประสงค์ของการเรียนการสอน ซึ่งการที่จะทราบได้ว่าผู้เรียนมีพฤติกรรมเปลี่ยนไปจน เกิดเป็นทักษะ ความรู้ ความสามารถ รวมทั้งคุณธรรมที่ต้องการหรือไม่นั้น จําเป็นต้องมีการวัดและประเมินผล อย่างต่อเนื่อง แม้วิธีการวัดและประเมินผลจะเป็นกระบวนการสุดท้ายของกระบวนการเรียนการสอนแต่ก็มีผลต่อ พฤติกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียนและพฤติกรรมการสอนของผู้สอนโดยตรง เช่น หากการวัดผลใช้ “แบบทดสอบ หรือ “ข้อสอบ” (ทั้งอัตนัยและปรนัย) เป็นเครื่องมือ
บทที่ 4 เครื่องมือที่ใช้ในการวัดผล (เพิ่มเติม)
เครื่องมือวัดพฤติกรรมทางการศึกษาเป็นตัวช่วยสําคัญให้กับครูผู้สอนในการวัดพฤติกรรมทาง การศึกษาตามจุดประสงค์การเรียนรู้ของการเรียนการสอนในแต่ละรายวิชาซึ่งแบ่งเป็น 3 ด้าน คือ พุทธิพิสัย (สติปัญญา) จิตพิสัย ความรู้สึกนึกคิดทางจิตใจ คุณธรรม) และทักษะพิสัย การปฏิบัติ) ทั้งนี้เครื่องมือที่มี ความสําคัญและครูใช้ในการวัดผลการเรียนรู้ของผู้เรียนคือ “แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน”
ความหมายของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
บบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ (Achievement test)
หมายถึง แบบทดสอบที่ใช้วัดระดับของ ความรู้ในเชิงวิชาการของผู้เรียนที่เป็นผลจากการจัดการเรียน
ประเภทของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบ่งเป็น 2 ประเภท
2.1 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ที่ครูสร้างขึ้นเอง
แบ่งออกได้อีก 2 ชนิดคือ
(1) แบบทดสอบแบบอัตนัย (Subjective or essay test)
(2) แบบทดสอบปรนัย หรือแบบให้ตอบสั้นๆ (Objective test or short answer)
บบทดสอบนี้แบ่งออกเป็น 4 แบบคือ แบบทดสอบถูก-ผิด แบบทดสอบเติมคํา แบบทดสอบแบบจับคู่ และแบบทดสอบเลือกตอบ
2.2 แบบทดสอบมาตรฐาน
หมายถึง แบบทดสอบที่มุ่งวัดผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนทั่วไป ซึ่งสร้างโดยผู้เชี่ยวชาญ มีการวิเคราะห์และปรับปรุงอย่างดีจนมีคุณภาพ
ขั้นตอนในการสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
3.1 วิเคราะห์หลักสูตรและสร้างตารางวิเคราะห์หลักสูตร
การสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ครูจําเป็นต้องดําเนินการวิเคราะห์หลักสูตร ก่อนเพื่อให้ทราบว่าในการจัดการเรียนการสอนในรายวิชานั้นๆ ต้องการให้ผู้เรียนเกิดพฤติกรรมทางการศึกษา อะไรบ้าง และเนื้อหาที่จะสอนควรจะเป็นเรื่องใด
มีขั้นตอน ในการดําเนินการดังนี้
(1) กําหนดกรรมการวิเคราะห์หลักสูตร โดยทั่วไปกําหนดประมาณ 5-10 คน
(2) วิเคราะห์เนื้อหาที่ต้องการจัดการเรียนการสอน โดยครูจะต้องแยกเนื้อหาในการจัดการเรียน การสอนออกเป็นหน่วยย่อย และเรียงลําดับเนื้อหาตามการสอนก่อน-หลัง
(4) สร้างตารางวิเคราะห์หลักสูตร โดยให้แนวตั้งเป็นพฤติกรรมต่างๆ
(3) วิเคราะห์พฤติกรรมทางการศึกษาและจุดประสงค์การเรียนรู้ที่ต้องการให้ผู้เรียนเกิด โดยครู อาจจะวิเคราะห์จากมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดของหลักสูตร
(5) กําหนดน้ําหนักของแต่ละพฤติกรรมและเนื้อหาของรายวิชา
(6) รวมน้ําหนักของแต่ละพฤติกรรมและเนื้อหาของรายวิชาของกรรมการทุกคนและนํามาหา ค่าเฉลี่ย
(7) หาค่าเฉลี่ยรวมน้ําหนักของแต่ละพฤติกรรมและเนื้อหาของรายวิชา
(8) นําคะแนนเฉลี่ยมาเทียบเป็น 100 หน่วย
3.2 ออกแบบการสร้างแบบทดสอบ
มีขั้นตอนในการดําเนินการดังนี้
(2) กําหนดรูปแบบในการทดสอบ เป็นการพิจารณาการใช้รูปแบบของการทดสอบที่เหมาะสมกับ สมรรถภาพ เนื้อหาในการทดสอบแต่ละครั้ง
(1) วางแผนการทดสอบ (Test desing)จะมีการทดสอบทั้งหมด 3 ครั้ง ดังนี้ ทดสอบก่อนเรียน ทดสอบระหว่างเรียนและทดสอบหลังเรียน
3.3 สร้างแผนผังการทดสอบ
เป็นการสร้างแผนผังที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างเนื้อหาที่ใช้ในการสอน จุดประสงค์การเรียนรู้ (จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม) และพฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้(พฤติกรรมทางการศึกษาที่ต้องการจะวัด)ข้อมูลดังกล่าวจะทําให้ครูผู้สอนนํามาใช้ในการวางแผนจํานวนข้อสอบในแต่ละเนื้อหาได้ ทําให้ครูเขียนจํานวนข้อสอบได้สอดคล้องกับความสําคัญของเนื้อหาและพฤติกรรมทางการศึกษาที่ต้องการ จะวัด ดําเนินการดังนี้
(3) กําหนดจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมของแต่ละหน่วย
(4) กําหนดน้ําหนักความสําคัญของแต่ละจุดประสงค์
(2) กําหนดน้ําหนักความสําคัญของแต่ละหน่วย
(5) กําหนดจํานวนข้อสอบรวม
(1) กําหนดหน่วยการเรียนรู้
(6) ระบุจํานวนข้อสอบในแต่ละระดับพฤติกรรมตามจุดประสงค์การเรียนรู้
3.4 เขียนข้อสอบ
มีขั้นตอนในการดําเนินการดังนี้
(1) กําหนดลักษณะเฉพาะของข้อสอบ
(2) กําหนดข้อสอบฉบับร่าง
(3) ทบทวนและตรวจสอบข้อสอบฉบับร่าง
3.5 การทดลองใช้
นการทดลองใช้ข้อสอบจะมีการ วิเคราะห์คุณภาพของข้อสอบและแบบทดสอบ ซึ่งเรียกกระบวนการนี้ว่า การวิเคราะห์ข้อสอบ (Item analysis) ดังนี้
(1) การวิเคราะห์ทางกายภาพ
(2) การวิเคราะห์เชิงปริมาณ
3.6 คัดเลือกข้อสอบที่มีความเหมาะสม
โดยหลังจากที่ครูผู้สอนได้วิเคราะห์เชิงปริมาณ ของข้อสอบแต่ละข้อแล้ว จะทําให้ครูทราบว่า ข้อสอบข้อใดที่มีมีความยากพอเหมาะ
3.7 จัดพิมพ์ข้อสอบ
เมื่อได้ข้อสอบครบถ้วนแล้วจึงนํามาจัดพิมพ์เป็นแบบทดสอบฉบับสมบูรณ์